ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อิเล็กทรอนิกส์ ออสซิลเลเตอร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Arweephan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Arweephan (คุย | ส่วนร่วม)
Typo
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:OpAmpHystereticOscillator.svg|thumb|รูปแสดง op-amp relaxation oscillator ที่เป็นที่นิยม]]
'''อิเล็กทรอนิกส์ ออสซิลเลเตอร์''' ({{lang-en|Electronic Oscillator}}) เป็นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่ผลิตสัญญาณออกมาซ้ำ ๆ กัน คลื่นไฟฟ้าที่ออกมาส่วนใหญ่จะเป็น [[sine wave]] และคลื่นรูปสี่เหลี่ยม Oscillators มีแหล่งจ่ายไฟเป็นกระแสตรง (DC) มีเอาต์พุตเป็นสัญญาณดังกล่าวเพื่อใช้ในการส่งสัญญาณวิทยุและโทรทัศน์, สัญญาณนาฬิกาที่ควบคุมการทำงานของคอมพิวเตอร์ทุกชนิด, นาฬิกาควอทซ์และเสียงที่ผลิตโดย beepers อิเล็กทรอนิกส์และวิดีโอเกม.
 
Oscillators แบ่งตามลักษณะของความถี่ของสัญญาณเอาต์พุต ได้แก่:
บรรทัด 21:
วงจร feedback สามารถจำแนกตามชนิดของตัวกรองเลือกความถี่ ดังนี้
 
*วงจร RC, ตัวกรองประกอบด้วยตัวต้านทานและตัวเก็บประจุ. RC oscillator ส่วนใหญ่จะใช้ในการสร้างความถี่ต่ำเช่นในช่วงเสียงออดิโอ ประเภททั่วไปของวงจร RC ได้แก่ Phase-shifted Oscillator และ Wien Bridge Oscillator
[[ไฟล์:Comparison between Hartley and Colpitts oscillator.JPJ.jpg|thumb|เปรียบเทียบระหว่าง แบบ Hartley และ แบบ Colpitts]]
*วงจร LC เป็นวงจรกรองแบบปรับความถี่ได้ ที่ประกอบด้วยตัวเหนี่ยวนำ (L) และตัวเก็บประจุ (C) เชื่อมต่อกันได้. ประจุไฟฟ้าจะไหลไปมาระหว่างแผ่นตัวเก็บประจุกับตัวเหนี่ยวนำ ดังนั้นวงจรกรองปรับความถี่สามารถเก็บพลังงานไฟฟ้าที่จะสั่นที่ความถี่[[เรโซแนนซ์]](การสั่นพ้อง, เรโซแนนซ์, ปรากฏการณ์เมื่อระบบถูกทำให้สั่นด้วยความถี่เท่ากับความถี่ธรรมชาติของระบบเองแล้ว การสั่นนั้นจะสั่นได้รุนแรงหรือมีช่วงกว้างของการสั่นกว้างมากที่สุด [พจนานุกรมศัพท์ สสวท) ของ L และ C นั้น มีการสูญเสียเล็กน้อยในวงจรดังกล่าว แต่วงจรขยายสัญญาณสามารถชดเชยการสูญเสียเหล่านั้นได้และจ่ายพลังงานเอาต์พุตเป็นสัญญาณออกมา oscillators LC มักจะสร้างความถี่วิทยุ ใช้กับงานที่ต้องมีการปรับความถี่เช่นในเครื่องสร้างสัญญาณ, ในเครื่องส่งสัญญาณวิทยุและการปรับหาสถานีในเครื่องรับวิทยุ โดยทั่วไป วงจร LC จะได้แก่ Hartley, Colpitts and Clapp