ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปลาร้า"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Saeng Petchchai (คุย | ส่วนร่วม)
ย้ายวิธีทำไปวิกิตำรา
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Rotting fish.jpg|thumb|250px|right|สภาพของปลาร้าขณะหมัก]]
 
'''ปลาร้า''' หรือ '''ปลาแดก''' '''ปลาน้อย''' (อังกฤษ:slatternly) ใน[[ภาษาอีสาน]] เป็นอาหารท้องถิ่นที่สำคัญในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยเฉพาะใน[[ภาคอีสาน]]ของไทย และลาว รวมถึงบางส่วนของเวียดนาม มักทำจากปลาน้ำจืดขนาดเล็ก เช่น [[ปลาสร้อยขาว]] [[ปลากระดี่หม้อ|ปลากระดี่]]มาหมักกับ[[รำข้าว]]และ[[เกลือ]] แล้วบรรจุใส่[[ไห]] โดยแต่ละท้องถิ่นจะหมักไว้ประมาณ 7-8 เดือน{{ต้องการอ้างอิงเฉพาะส่วน}} แล้วนำมารับประทานได้ ในบางท้องที่มีค่านิยมว่า หมักให้เกิด[[หนอน]]จะยิ่งเพิ่มรสชาติยิ่งขึ้น {{ต้องการอ้างอิงเฉพาะส่วน}}การทำปลาร้าเป็นเอกลักษณ์ของตน ปัจจุบัน ปลาร้าได้พัฒนาขึ้นไปสู่ระดับสากลมากขึ้น มีปลาร้า[[พาสเจอร์ไรซ์]]เพื่อฆ่าเชื้อโรคก่อนด้วย หรือปลาร้าอนามัย แต่ส่วนใหญ่ ปลาร้าก็ยังนิยมทำแบบเดิม โดยตักขายตามน้ำหนักตามตลาดสดต่าง ๆ
 
ปลาร้านำไปปรุงอาหารได้หลายชนิด ตั้งแต่ [[น้ำพริก]] [[หลน]] จนถึงนำไปทอด นึ่ง เผา แล้วแต่ขนาดของปลาร้า นำปลาร้าไปต้มกับน้ำแล้วกรองเอาแต่น้ำเป็นน้ำปลาร้าเป็นเครื่องปรุงรสที่สำคัญของอาหารอีสาน อาหารที่ปรุงด้วยปลาร้าที่เป็นที่รู้จักโดยทั่วไปคือ[[ส้มตำ]]โดยส้มตำที่ใส่ปลาร้านั้นจะเรียกว่า ''ส้มตำลาว'' หรือ ''ส้มตำปลาร้า'' เพื่อให้ต่างจากส้มตำใส่[[กุ้งแห้ง]]ที่เรียกส้มตำไทย <ref>ส้มตำเป็นอาชีพ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กทม. แสงแดด. 2552.</ref> ปลาร้าที่นิยมใส่ในส้มตำมี 3 แบบคือ<ref>ส้มตำเป็นอาชีพ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กทม. แสงแดด. 2552.หน้า 22</ref>
* ปลาร้าต่วงหรือปลาแดกน้อย ทำจากปลาตัวเล็ก หมักกับเกลือ รสเค็มกลมกล่อม
* ปลาร้าโหน่ง รสจืดกว่าปลาร้าต่วง โดยหมักปลากับเกลือและรำข้าว รำข้าวจะช่วยเร่งให้ปลาร้าเป็นเร็ว สีออกแดงและหอม
* ปลาร้าขี้ปลาทู ทำจากไส้[[ปลาทู]] มีกลิ่นหอมที่เป็นเอกลักษณ์ นิยมนำมาทำเป็นน้ำปลาร้าไว้ปรุงรส[[ส้มตำ]]
 
<!--จากหลักฐานทาง[[โบราณคดี]]พบว่า ปลาร้า เป็นอาหารของวัฒนธรรมอีสานมานานกว่า 6,000 ปีแล้ว โดยพบวัสดุที่คล้ายกับไหหมักปลาร้า {{ต้องการอ้างอิงเฉพาะส่วน}}-->
 
== ปลาร้าเลสาบอีสาน ==
นอกจากภาคเหนือแล้ว ทางภาคใต้มีปลาร้าที่เป็นเอกลักษณ์ของตนโดยเฉพาะเรียกปลาร้าเลสาบ นิยมทำในบริเวณ[[ทะเลสาบสงขลา]] ปลาที่นิยมทำคือ[[ปลาดุก]] การทำปลาร้าแบบภาคใต้นี้ จะหมักปลากับเกลือและน้ำตาลโตนด 1 คืน แล้วนำไปตากแดด 2-3 วัน จึงรับประทานได้ <ref>อาหารการกินแห่งลุ่มทะเลสาบ. สงขลา: เครือข่ายสตรีรอบทะเลสาบ. 2551. หน้า 32-33</ref>
 
'''ปลาร้า''' หรือ'''ปลาแดก''' เป็นอาหารหลัก และเครื่องปรุงรสที่สำคัญที่สุดในวัฒนธรรมของภาคอีสาน จนถือเป็นหนึ่งใน''วิญญาณห้าของความเป็นอีสาน'' ได้แก่ ข้าวเหนียว ลาบ ส้มตำ หมอลำ และปลาร้า ชีวิตชาวอีสานก่อนปี พ.ศ. 2500 ครอบครัวชาวนาทุกครอบครัวจะทำปลาร้ากินเอง โดยหมักปลาร้าไว้มากหรือน้อยบ้าง ขึ้นอยู่กับปริมาณน้ำฝนและความอุดมสมบูรณ์ของปลา ปลาร้าเป็นการถนอมปลาโดยการหมักไว้เป็นอาหารนอกฤดูกาล โดยมีข้อมูลเชิงสถิติระบุไว้ว่า <ref>http://www.isangate.com/local/pladag_01.html</ref>
 
ลักษณะของปลาร้าอีสานคือมักทำจากปลาน้ำจืดขนาดเล็ก เช่น [[ปลาสร้อยขาว]] [[ปลากระดี่หม้อ|ปลากระดี่]]มาหมักกับ[[รำข้าว]]และ[[เกลือ]] แล้วบรรจุใส่[[ไห]] จะหมักไว้ประมาณ 7-8 เดือน{{ต้องการอ้างอิงเฉพาะส่วน}} แล้วนำมารับประทานได้ ในบางท้องที่มีค่านิยมว่า หมักให้เกิด[[หนอน]]จะยิ่งเพิ่มรสชาติยิ่งขึ้น {{ต้องการอ้างอิงเฉพาะส่วน}} ปลาร้าเป็นการถนอมปลาโดยการหมักไว้เป็นอาหารนอกฤดูกาล โดยมีข้อมูลเชิงสถิติระบุไว้ว่า กำลังการผลิตปลาร้าทั่วประเทศ 20,000-40,000 ตัน/ปี ครัวเรือนอีสานผลิตปลาร้าเฉลี่ย 27.09 กิโลกรัม/ปี อัตราการบริโภคปลาร้าโดยเฉลี่ยประมาณ 15-40 กรัม/คน/วัน ปริมาณการซื้อขายปลาร้าทั่วประเทศคิดเป็นมูลค่าประมาณ 9 ล้านบาทต่อวัน<ref>http://www.isangate.com/local/pladag_01.html</ref>
 
ปลาร้านำไปปรุงอาหารได้หลายชนิด ตั้งแต่ [[น้ำพริก]] [[หลน]] จนถึงนำไปทอด นึ่ง เผา แล้วแต่ขนาดของปลาร้า นำปลาร้าไปต้มกับน้ำแล้วกรองเอาแต่น้ำเป็นน้ำปลาร้าเป็นเครื่องปรุงรสที่สำคัญของอาหารอีสาน อาหารที่ปรุงด้วยปลาร้าที่เป็นที่รู้จักโดยทั่วไปคือ[[ส้มตำ]]โดยส้มตำที่ใส่ปลาร้านั้นจะเรียกว่า ''ส้มตำลาว'' หรือ ''ส้มตำปลาร้า'' เพื่อให้ต่างจากส้มตำใส่[[กุ้งแห้ง]]ที่เรียกส้มตำไทย <ref>ส้มตำเป็นอาชีพ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กทม. แสงแดด. 2552.</ref> ปลาร้าที่นิยมใส่ในส้มตำมี 3 แบบคือ<ref>ส้มตำเป็นอาชีพ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กทม. แสงแดด. 2552.หน้า 22</ref>
'''ปลาร้า''' หรือ'''ปลาแดก''' เป็นอาหารหลัก และเครื่องปรุงรสที่สำคัญที่สุดในวัฒนธรรมของภาคอีสาน จนถือเป็นหนึ่งใน''วิญญาณห้าของความเป็นอีสาน'' ได้แก่ ข้าวเหนียว ลาบ ส้มตำ หมอลำ และปลาร้า ชีวิตชาวอีสานก่อนปี พ.ศ. 2500 ครอบครัวชาวนาทุกครอบครัวจะทำปลาร้ากินเอง โดยหมักปลาร้าไว้มากหรือน้อยบ้าง ขึ้นอยู่กับปริมาณน้ำฝนและความอุดมสมบูรณ์ของปลา ปลาร้าเป็นการถนอมปลาโดยการหมักไว้เป็นอาหารนอกฤดูกาล โดยมีข้อมูลเชิงสถิติระบุไว้ว่า <ref>http://www.isangate.com/local/pladag_01.html</ref>
* ปลาร้าต่วงหรือปลาแดกน้อย ทำจากปลาตัวเล็ก หมักกับเกลือ รสเค็มกลมกล่อม
 
* ปลาร้าโหน่ง รสจืดกว่าปลาร้าต่วง โดยหมักปลากับเกลือและรำข้าว รำข้าวจะช่วยเร่งให้ปลาร้าเป็นเร็ว สีออกแดงและหอม
• กำลังการผลิตปลาร้าทั่วประเทศ 20,000-40,000 ตัน/ปี
* ปลาร้าขี้ปลาทู ทำจากไส้[[ปลาทู]] มีกลิ่นหอมที่เป็นเอกลักษณ์ นิยมนำมาทำเป็นน้ำปลาร้าไว้ปรุงรส[[ส้มตำ]]
 
• ครัวเรือนอีสานผลิตปลาร้าเฉลี่ย 27.09 กิโลกรัม/ปี
 
• อัตราการบริโภคปลาร้าโดยเฉลี่ยประมาณ 15-40 กรัม/คน/วัน
 
• ปริมาณการซื้อขายปลาร้าทั่วประเทศคิดเป็นมูลค่าประมาณ 9 ล้านบาทต่อวัน
 
 
== ปลาร้า 3 สูตร ==
วิธีการทำที่แตกต่างกันเป็น 3 สูตร คือ
 
* สูตรที่หนึ่ง = ปลา + เกลือ + รำ
 
* สูตรที่สอง = ปลา + เกลือ + ข้าวคั่ว
 
* สูตรที่สาม = ปลา + เกลือ + ข้าวคั่ว + รำ
 
== การผลิตปลาร้าแบบดั้งเดิม ==
การผลิตปลาร้าแบบดั้งเดิมตามตำรับชาวอีสาน คือ ปลาร้าข้าวคั่วและปลาร้ารำ
 
'''ปลาร้าข้าวคั่ว''' ได้จากปลาหมักเกลือที่ใส่ข้าวคั่ว ผลิตภัณฑ์ที่ได้จะมีลักษณะแฉะ เนื้ออ่อนนุ่ม สีเหลืองเข้มและมีกลิ่นหอม ปลาสดที่นิยมใช้ทำปลาร้าประเภทนี้คือ ปลากระดี่ ปลาสลิด ปลาหมอเทศ ปลาดุก โดยใช้ปลาขนาดกลางและขนาดใหญ่
 
'''ปลาร้ารำ''' ได้จากปลาหมักเกลือใส่รำหรือรำผสมข้าวคั่ว มีลักษณะเป็นสีคล้ำ ปลายังมีลักษณะเป็นตัว เนื้อไม่นิ่มมาก มีกลิ่นรุนแรงกว่าปลาร้าข้าวคั่ว ปลาที่ใช้ทำส่วนมากเป็นปลาขนาดเล็ก เช่น ปลาสร้อย ปลาซิว ปลากระดี่ ปลาร้าส่วนใหญ่ที่ชาวอีสานบริโภคเป็นปลาร้ารำ
 
== 3 ขั้นตอนของวิธีการทำปลาร้า ==
 
'''วัตถุดิบ - วัสดุอุปกรณ์''' <ref>http://alangcity.blogspot.com/2014/01/blog-post_21.html</ref>
 
1. ปลาสด ปลาแม่น้ำ จำนวน 150 กิโลกรัม
 
2. เกลือ 15 กิโลกรัม
 
3. ข้าวคั่ว 15 กิโลกรัม
4. รำข้าว จำนวน 10 กิโลกรัม
5. ไม้ไผ่ขนาดยาวกว่าปากโอ่งเล็กน้อย 2 ชิ้น
 
6. ตาข่ายพลาสติก ขนาดเท่าปากโอ่ง
 
7. โอ่งมังกรขนาดใหญ่ 1 ใบ
 
'''ขั้นที่หนึ่ง''' ล้างปลาให้สะอาด ถ้าเป็นปลาที่มีเกล็ดขนาดใหญ่ต้องขอดเกล็ดก่อน หากมีขนาดเล็กอย่างปลาซิวก็ไม่ต้อง ปลาที่นำมาทำปลาร้า มีทั้งปลาหนัง (ปลาที่ไม่มีเกล็ด) และปลาที่มีเกล็ด ได้แก่ ปลาช่อน ปลาดุก ปลาขาวนา ปลาขาวสูตร ปลาขาวมล ปลาซิว ปลากระดี่ ปลาหมอ ปลาก่า ปลาตอง กุ้งและปูเล็กๆ ปลาที่นำมาทำปลาร้าต้องแยกขนาดปลาเล็ก ปลาใหญ่ ไม่ทำปะปนกัน
 
'''ขั้นที่สอง''' เอาไส้และขี้ปลาออกจากตัวปลา โดยเฉพาะอย่างยิ่งปลาขนาดใหญ่ ถ้าขนาดเล็กต้องใช้เวลามากจึงไม่นิยมเอาออก ล้างปลาให้สะอาดใส่ตะแกรงผึ่งให้สะเด็ดน้ำ แล้วใส่เกลือ ข้าวคั่ว หรือรำให้ได้สัดส่วน ''6: 2: 1'' คือ ปลาหกถ้วยใส่เกลือสองถ้วย ใส่รำหรือข้าวคั่วหนึ่งถ้วย แล้วนวดคลุกเคล้าให้เข้ากันให้เกลือดูดซึมเข้าในเนื้อปลา (บางแห่งจะใส่รำและข้าวคั่วในภายหลัง) ถ้าหากปลาและเกลือผสมกันได้สัดส่วน ตัวปลาจะแข็งและไม่เละ ถ้าตัวปลาเหลวไม่แข็งพอควรโรยเกลือลงคลุกอีก
 
'''ขั้นที่สาม''' เมื่อเสร็จสิ้นกรรมวิธีการนวดปลาแล้ว จะนำลงบรรจุในภาชนะเช่น ไหหรือตุ่มที่ล้างสะอาดและแห้งแล้ว ให้ต่ำกว่าระดับขอบปากไหเล็กน้อย ปิดปากไหด้วยผ้าหรือพลาสติก ถ้าเป็นไหซองชาวบ้านนิยมใช้ผ้าห่อขี้เถ้าให้เป็นก้อนโตกว่าปากไหแล้วนำมาปิดทับ เพื่อป้องกันแมลงวันมาไข่ หมักทิ้งไว้จนมีน้ำเกลือไหลท่วมปลาในไห และตัวปลาออกเป็นสีแดงกว่าเดิม แสดงว่าเป็นปลาร้าแล้ว เวลาที่ใช้หมักอาจแตกต่างกันไปตามขนาดของตัวปลา แต่อย่างน้อยไม่ต่ำกว่า 5-8 สัปดาห์ หรือนานที่สุดอาจถึงหนึ่งปี ปลาร้าที่หมักหกเดือนไปแล้วถือว่าปลอดภัยไม่มีพยาธิ
 
*เคล็ดไม่ลับ
การเก็บไหปลาร้าต้องเก็บในสถานที่อากาศถ่ายเทได้ดี แสงแดดส่องไม่ถึงไหที่บรรจุปลาร้าต้องเป็นภาชนะทึบแสง หากปลาร้าถูกแสงแดดและอากาศจะทำให้ปลาร้ามีสีคล้ำ หากเก็บในที่เย็นเกินไปจะทำให้กลิ่นไม่หอม
 
== คุณภาพของปลาร้า ==
สิ่งที่บ่งชี้คุณภาพของปลาร้า คือ คุณค่าด้านสารอาหาร รส กลิ่น สี นักโภชนาการยอมรับกันว่า เมื่อเปรียบเทียบปลาร้ากับอาหารหมักดองประเภทอื่น เช่น ปลาจ่อม ปลาส้มฟัก กะปิ ปลาร้าให้คุณค่าด้านสารอาหารค่อนข้างสูง คือ ให้โปรตีน ไขมัน เกลือแร่ โดยเฉพาะปลาร้าที่ทำมาจากปลาช่อน
เส้น 81 ⟶ 27:
 
ปลาร้าที่หมักนานกว่าสามเดือนขึ้นไปจะให้รสชาติที่ดี ถ้าปลาช่อนตัวใหญ่อาจต้องใช้เวลาถึงหนึ่งปี ไม่ต้องพะวงกับเชื้อโรคในปลาร้า เพราะนักโภชนาการเชื่อว่า เกลือในปริมาณที่พอเหมาะมากพอจะทำให้ยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ที่ ทำให้อาหารบูดเน่าได้ ดังนั้นถ้าปลาร้าที่ทำจากปลาที่ล้างสะอาด สด ใช้เกลือสินเธาว์และภาชนะบรรจุที่เหมาะสมจะทำให้ได้ปลาร้าที่มีคุณภาพดี จากการศึกษาวิจัยยังพบอีกว่า ปลาร้าที่หมักนานกว่าสามเดือนขึ้นไป พยาธิใบไม้ตับ จะตายหมดไม่สามารถติดต่อมายังคนได้ไม่ว่าจะรับประทานปลาร้าดิบหรือสุกก็ตาม
== ปลาร้า 3 สูตรเลสาบ ==
 
นอกจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือแล้ว ทางภาคใต้มีปลาร้าที่เป็นเอกลักษณ์ของตนโดยเฉพาะเรียกปลาร้าเลสาบ นิยมทำในบริเวณ[[ทะเลสาบสงขลา]] ปลาที่นิยมทำคือ[[ปลาดุก]] การทำปลาร้าแบบภาคใต้นี้ จะหมักปลากับเกลือและน้ำตาลโตนด 1 คืน แล้วนำไปตากแดด 2-3 วัน จึงรับประทานได้ <ref>อาหารการกินแห่งลุ่มทะเลสาบ. สงขลา: เครือข่ายสตรีรอบทะเลสาบ. 2551. หน้า 32-33</ref>
== ปลาร้ามอญ ==
ปลาร้าแบบมอญต่างจากปลาร้าแบบอีสาน นิยมทำจากปลากระดี่ โดยทิ้งปลาไว้ให้เน่า 2 คืน นำมาเคล้ากับเกลือ ผึ่งให้แห้ง นำมาโขลกกับเกลือและข้าวสุกให้เกลือเข้าเนื้อแล้วหมักในไห ใช้เวลาหมักเป็นปี ไม่ใส่ข้าวคั่วแบบปลาร้าอีสาน และใช้เวลาหมักนานกว่า ปลาร้าแบบนี้ ชาวมอญนิยมนำไปทำปลาร้าทรงเครื่องหรือกะเซียก ซึ่งมีลักษณะคล้ายปลาร้าหลน<ref>องค์ บรรจุน. ข้างสำรับมอญ. กรุงเทพฯ: มติชน. 2557</ref>
 
 
เส้น 89 ⟶ 38:
{{มรดกภูมิปัญญาชาติ/ความรู้และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับธรรมชาติและจักรวาล}}
[[หมวดหมู่:อาหารอีสาน]]
[[หมวดหมู่:น้ำปลาอาหารไทยภาคใต้]]
[[หมวดหมู่:อาหารมอญ]]
[[หมวดหมู่:อาหารหมักดอง]]
[[หมวดหมู่:อาหารประเภทเนื้อปลา]]
[[หมวดหมู่:น้ำปลา]]
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ปลาร้า"