ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ ‘(?mi)\{\{Link GA\|.+?\}\}\n?’ ด้วย ‘’: เลิกใช้ เปลี่ยนไปใช้วิกิสนเทศ
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "[[สมเด็จพระจักรพรรดิ" → "[[จักรพรรดิ" +แทนที่ "สมเด็จพระจักรพรรดิ" → "จักรพรรดิ" +แทนที่ "ฟ...
บรรทัด 22:
| image_map = Location_Austria_Hungary_1914.png
| image_map_caption = อาณาเขตของออสเตรีย-ฮังการีในปี พ.ศ. 2456 (ค.ศ. 1913)
| national_anthem = [[Gott erhalte Franz den Kaiser]]<br /> ("ขอพระเจ้าทรงพิทักษ์พระจักรพรรดิฟรานซ์ฟรันซ์")
| capital = [[เวียนนา]]<br />[[บูดาเปสต์]]
| common_languages = [[ภาษาเยอรมัน]] <br /> [[ภาษาฮังการี]] <br /> [[ภาษาเช็ก]]ฯลฯ
| government_type = ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ
| title_leader = '''จักรพรรดิ-ราชาธิบดี'''
| leader1 = [[สมเด็จพระจักรพรรดิฟรานซ์ฟรันซ์ โจเซฟโยเซฟที่ 1 แห่งออสเตรีย|ฟรานซ์ฟรันซ์ โจเซฟโยเซฟที่ 1]]
| year_leader1 = 1848-1916
| leader2 = [[สมเด็จพระจักรพรรดิคาร์ลที่ 1 แห่งออสเตรีย|คาร์ลที่ 1 (คาร์ลที่ 4)]]
| year_leader2 = 1916-1918
| leader3 = คาร์ลที่ 1 (คาร์ลที่ 4)
บรรทัด 62:
จักรวรรดินี้ได้สืบทอดมาจาก[[จักรวรรดิออสเตรีย]] ([[ค.ศ. 1804]]-[[ค.ศ. 1867]]) โดยมีอาณาเขตพื้นที่เดียวกัน โดยมีต้นกำเนิดจาก[[การเจรจาต่อรองระหว่างออสเตรียและฮังการี]] เมื่อปี[[พ.ศ. 2410]] ซึ่งทั้งสองประเทศนี้ถูกปกครองโดย[[ราชวงศ์ฮับส์บูร์ก]]มาช้านาน โดยเจรจาให้มีการรวมอาณาจักรเป็นหนึ่งเดียว โดยจักรวรรดินี้เป็นอาณาจักรที่มีหลากหลายเชื้อชาติและมีความเจริญรุ่งเรืองขีดสุด ทั้งในด้านการเมือง เศรษฐกิจ และอุตสาหกรรม
 
ราชวงศ์ฮับส์บูร์กนั้นได้ปกครองประเทศในฐานะ[[รายพระนามจักรพรรดิแห่งออสเตรีย|สมเด็จพระจักรพรรดิแห่งออสเตรีย]] ''' (Emperor of Austria) ''' และ[[ราชอาณาจักรฮังการี]]ในฐานะ[[รายพระนามกษัตริย์แห่งฮังการี|สมเด็จพระราชาธิบดีกษัตริย์แห่งฮังการี]] ''' (Apostolic King of Hungary) ''' ผู้ทรงเปรียบเสมือนเบื้องขวาแห่งองค์พระผู้เป็นเจ้า นอกจากนั้นยังได้ปกครองทั่วทั้งทางตะวันตกและทางเหนือ รวมทั้งครึ่งหนึ่งของ[[ทวีปยุโรป]]เลยทีเดียว โดยทุกประเทศที่อยู่ภายใต้จักรวรรดินี้ มีรัฐบาลเป็นของตนเอง มิได้มีรัฐบาลและศูนย์กลางทางการเมืองหรือรัฐบาลที่ประเทศเดียว เมืองหลวงของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีนั้น มีอยู่ 2 เมืองด้วยกันคือ [[กรุงเวียนนา]] ที่[[ประเทศออสเตรีย]] และ[[กรุงบูดาเปสต์]]ที่[[ประเทศฮังการี]] จักรวรรดินี้มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับสองรองจาก[[จักรวรรดิรัสเซีย]] และเป็นอาณาจักรที่มีประชากรหนาแน่นเป็นอันดับ 3 รองจากจักรวรรดิรัสเซียและ[[จักรวรรดิเยอรมัน]] ซึ่งปัจจุบันนี้ พื้นที่ที่เคยเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดินั้นมีประชากรรวมทั้งหมดถึง 73 ล้านคน
 
=== ชื่ออย่างเป็นทางการ ===
บรรทัด 100:
หลังจากเกิดเหตุการณ์การเจรจาต่อรองระหว่างออสเตรียและฮังการีเมื่อปี [[พ.ศ. 2410]] ซึ่งดำเนินการการรวมชาติการเป็นจักรวรรดิที่ยิ่งใหญ่ และเป็นการสานต่อโครงสร้างของการปกครองที่คงตัวตั้งแต่เมื่อยังคงเป็น[[จักรวรรดิออสเตรีย]] ตั้งแต่ปี[[พ.ศ. 2347]]ถึง[[พ.ศ. 2410]] เพื่อปกป้องและขยายอำนาจของจักรวรรดิ ซึ่งรวมไปถึง[[คาบสมุทรอิตาลี]] (ซึ่งนำไปสู่[[สงครามออสเตรีย-ซาร์ดีเนีย]]เมื่อปี[[พ.ศ. 2402]] ท่ามกลางรัฐต่างๆของ[[สมาพันธรัฐเยอรมัน]] ซึ่งถูกแทนที่โดย[[ปรัสเซีย]] ซึ่งเป็นประเทศมหาอำนาจสูงสุดในกลุ่มประเทศเยอรมันทั้งมวล อันนำไปสู่[[สงครามออสเตรีย-ปรัสเซีย]] เมื่อปี[[พ.ศ. 2409]] ทำให้ประเทศหลายประเทศต้องมีการเปลี่ยนแปลงการปกครอง รวมทั้ง[[ประเทศฮังการี]] ซึ่งมีการชุมนุมประท้วงที่ไม่พอใจที่ได้อย่ภายใต้การปกครองของ[[ออสเตรีย]] รวมทั้งการรวมเชื้อชาติต่างๆของจักรวรรดิออสเตรีย ฮังการีไม่พอใจต่อการปราบปรามจลาจลของออสเตรีย ซึ่งมี[[จักรวรรดิรัสเซีย]]สนับสนุนอีกแรง ซึ่งนำไปสู่[[การปฏิวัติในประเทศฮังการี พ.ศ. 2391|การปฏิวัติเสรีนิยมในประเทศฮังการี]] เมื่อปี[[พ.ศ. 2391]] อย่างไรก็ตาม ความไม่พอใจของฮังการีต่อการปกครองของทาง[[ออสเตรีย]]ได้เกิดขึ้นเป็นเวลาหลายปี
 
ส่วนทางด้านออสเตรียซึ่งสนับสนุนระบอบกษัตริย์หรือจักรพรรดิอย่างเต็มที่ [[สมเด็จพระจักรพรรดิฟรานซ์ฟรันซ์ โจเซฟโยเซฟที่ 1 แห่งออสเตรีย|สมเด็จพระจักรพรรดิฟรานซ์ฟรันซ์ โจเซฟโยเซฟ]] ทรงริเริ่มที่จะเจรจากับฮังการี โดยเฉพาะกับกลุ่มผู้นำปฏิวัติของชาวแม็กยาร์ (ฮังกาเรียน) ให้มั่นใจและรับรองต่อระบอบการปกครองของพระองค์ โดยในที่สุด ประเทศฮังการีก็ยอมรับพระองค์เป็นประมุข โดยในฐานะสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งฮังการี โดยฮังการีได้ก่อตั้งรัฐสภาเป็นของตนเอง ณ [[กรุงบูดาเปสต์]] เพื่อที่จะได้ออกกฎหมายเป็นของตนเอง ในนามของ'''ผืนแผ่นดินอันศักดิ์สิทธิ์แห่งเซนต์ สตีเฟน''' ''' (The Holy Hungarian Land of St. Stephen) '''
 
== การเมืองการปกครอง ==
บรรทัด 106:
=== บริหาร ===
{{บทความหลัก|รัฐบาลออสเตรีย|รัฐบาลฮังการี}}
สภาคณะรัฐมนตรีของจักรวรรดิเป็นตัวควบคุมรัฐสภาทั้งหมด ซึ่งประกอบด้วย 3 รัฐมนตรีที่มีส่วนร่วมในการควบคุมด้วย คือรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ นอกจากนี้ยังมีผู้ส่วนร่วมคนอื่นๆอีก เช่นอาร์คดยุคและอาร์ชดัชเชส รวมทั้งพระราชวงศ์อิมพีเรียลบางพระองค์อีกด้วย โดยคณะผู้แทนจากออสเตรีย 1 คน และจากฮังการีอีก 1 คนจะเป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่ายของสภาสามัญของคณะรัฐมนตรีหรือการจัดการทรัพย์สินแผ่นดิน โดยให้ 2 รัฐบาลเป็นตัวกำหนดและควบคุมการบริหารและการจัดการทรัพย์สินแผ่นดิน อย่างไรก็ตาม ในขั้นตอนสุดท้ายของการประชุมทุกครั้ง คณะรัฐมนตรีจะต้องยื่นถวายฎีกาต่อสมเด็จพระจักรพรรดิ ซึ่งพระองค์ทรงเป็นผู้ตัดสินความทั้งหมด
 
หน้าที่รับผิดชอบระหว่างคณะรัฐมนตรีฝ่ายหนึ่งกับคณะรัฐมนตรีอีกฝ่ายหนึ่ง ได้สร้างความไม่ลงรอยกันและไร้ประสิทธิภาพในการบริหารงาน การบริหารกองทัพบกนั้นได้อยู่ในภาวะลำบาก เป็นกองทัพที่ไร้ประสิทธิภาพ ถึงแม้ว่ารัฐสภากลางได้กำหนดทิศทางการบริหารงานของกองทัพบก และกระทรวงกลาโหมแล้ว แต่รัฐบาลออสเตรียและรัฐบาลฮังการีจะมีการกำหนดกฎหมายบังคับ การเกณฑ์ทหาร การจัดหาและการย้ายทหารไปออกรบ และกฎหมายบังคับเฉพาะเมือง ที่ไม่ใช่ทหารเกณฑ์แต่เป็นสมาชิกของกองทัพบก โดยบางส่วนให้กระแสว่า แต่ละรัฐบาลควรจะเข้มแข็ง ควรเข้มงวดต่อการบริหารตัวเองมากกว่านี้ แทนที่จะไปใส่ใจรับผิดชอบรัฐสภาสามัญ
บรรทัด 114:
=== นิติบัญญัติ ===
{{บทความหลัก|รัฐสภาแห่งออสเตรีย|รัฐสภาแห่งฮังการี}}
ออสเตรียและฮังการีต่างมีรัฐสภาเป็นของตนเอง และมีนายกรัฐมนตรีเป็นของตนเอง แต่รัฐสภาทั้งหมดอยู่ภายใต้อำนาจของสมเด็จพระจักรพรรดิหรือสมเด็จพระราชาธิบดีแต่เพียงพระองค์เดียว ด้วยอำนาจเบ็ดเสร็จและสภาของสำนักอิมพีเรียลนั้น มีหน้าที่เกี่ยวกับกองทัพราชนาวี การต่างประเทศ และสหภาพต่างในจักรวรรดิ เป็นต้น
 
=== ตุลาการ ===
บรรทัด 129:
== กองทัพ ==
{{บทความหลัก|กองทัพราชนาวีอิมพีเรียล}}
กองทัพราชนาวีอิมพีเรียลภายใต้พระมหากษัตริย์หรือสมเด็จพระจักรพรรดิเป็นองค์จอมทัพ
=== กองทัพบก ===
{{บทความหลัก|กองทัพบกออสเตรีย-ฮังการี}}
บรรทัด 200:
ตั้งแต่[[เดือนมกราคม]] [[พ.ศ. 2450]] โรงเรียนต่างๆในพื้นที่เขตสโลวักที่อยู่ในเขตของ[[ราชอาณาจักรฮังการี]] ซึ่งประชากรโดยประมาณ 2 ล้านคนได้ศึกษาภาษาฮังการีเพียงภาษาเดียว โดยสั่งห้ามทำสื่อที่เป็นภาษาสโลวัก และได้ทำลายหนังสือหรือหนังสือพิมพ์ที่ป็นภาษาสโลวักอีกด้วย โดยการกระทำนี้ได้มีการวิพากย์วิจารณ์เรื่องการไม่ให้ความเสมอภาคทางภาษา นำโดย[[บียอร์สเตียร์เน มาร์ตินุส บียอร์สัน]] นักเขียนชื่อดังชาว[[นอร์เวย์]] ที่ได้รับ[[รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม]] นอกจากนี้ยังมีมิช่า เกล็นนี่ ผู้สื่อข่าวชาวอังกฤษได้วิพากย์วิจารณ์ถึงการเอารัดเอาเปรียบทางภาษาของออสเตรียที่กระทำต่อเช็ก
 
[[สมเด็จพระจักรพรรดิฟรานซ์ฟรันซ์ โจเซฟโยเซฟที่ 1 แห่งออสเตรีย|สมเด็จพระจักรพรรดิฟรานซ์ฟรันซ์ โจเซฟโยเซฟ]]นั้น ในช่วงเวลาที่พระองค์ครองราชย์ พระองค์ทรงปกครองอาณาจักรที่มีหลายเชื้อชาติ หลายภาษา โดยพระองค์ทรงอักษรและทรงพูดภาษาอังกฤษ ภาษาเยอรมัน ภาษาฮังการี ภาษาเช็ก ภาษาโปแลนด์ รวมทั้งภาษาอิตาลี และภาษาอื่นๆอีกมากมาย ดังนั้นถือเป็นความยากลำบากอย่างหนึ่งของพระราชวงศ์ออสเตรียที่จะต้องศึกษาภาษาทุกภาษาที่มีอยู่ในจักรวรรดิ รวมทั้งภาษาอังกฤษด้วย
 
=== ภาษาต่างๆที่ใช้กันในจักรวรรดิ ===
บรรทัด 313:
== อาณานิคมของจักรวรรดิ ==
* [[หมู่เกาะนิโคบาร์]]
* [[หมู่เกาะฟรานซ์ฟรันซ์ โจเซฟโยเซฟ แลนด์]]
* [[มอริเตเนีย]]
 
== ภาวะสงคราม ==
หลังจากการสิ้นพระชนม์ของ[[สมเด็จพระจักรพรรดิแม็กซีมีเลียนที่ 1 แห่งเม็กซิโก|สมเด็จพระจักรพรรดิแม็กซีมีเลียน]] พระราชอนุชาในสมเด็จพระจักรพรรดิฟรานซ์ฟรันซ์ โจเซฟโยเซฟ และพระราชโอรสองค์เดียวของพระองค์ [[อาร์คดยุครูดอล์ฟ มกุฎราชกุมารแห่งออสเตรีย-ฮังการี]] ทำให้พระราชนัดดาของพระองค์ [[อาร์คดยุคฟรานซ์ฟรันซ์ เฟอร์ดินานด์แห่งออสเตรีย-เอสต์|อาร์คดยุคฟรานซ์ฟรันซ์ เฟอร์ดินานด์]] ได้รับตำแหน่งองค์รัชทายาทสืบต่อจากอาร์คดยุครูดอล์ฟ แต่เมื่อวันที่[[28 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2457]] เมื่อพระองค์เสด็จเยี่ยมราษฎรพร้อมด้วยพระชายาในเมือง[[ซาราเยโว]] นครหลวงของเขตบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา ทั้งสองพระองค์ได้ถูกลอบปลงพระชนม์ด้วยกระสุนปืนโดยนักชาตินิยมจากเซอร์เบีย เป็นเหตุให้ทั้งสองพระองค์สิ้นพระชนม์ทันที
 
การบริหารทางการทหารไม่ได้รับการบริหารที่ดีตั้งแต่[[การประชุมที่เบอร์ลิน (พ.ศ. 2421)]] ขณะที่เยอรมัน อังกฤษ ฝรั่งเศส และรัสเซียได้ประกาศอำนาจในการประชุม โดยหลังจากการประชุมจักรวรรดิได้เสียดินแดนอิตาลีให้กับ[[แคว้นปิเอมอนเต|ปิเอดมอนต์]] รวมทั้งเสียเปรียบทางความเคลื่อนไหวทางชาตินิยม ซึ่งถูก[[อิตาลี]]จับตาดูอยู่ นอกจากนี้ออสเตรีย-ฮังการีได้สูญเสียพื้นที่ทางตอนใต้ซึ่งมีประชากรชาวสลาฟอาศัยอยู่ให้กับ[[เซอร์เบีย]] ซึ่งเซอร์เบียเพิ่งจะได้รับสิทธิ์และผลประโยชน์เพิ่มเรื่องพื้นที่ หลังจาก[[สงครามบัลข่านที่ 2]] เมื่อปี[[พ.ศ. 2455]] จึงส่งผลต่อความยากลำบากภายในรัฐบาลของออสเตรียและฮังการี โดยมีสมาชิกรัฐสภาบางคน เช่น [[คอนราด วอน เฮิตเซนดอร์ฟ]] ต้องการที่จะเผชิญหน้ากับการฟื้นคืนอำนาจของการเมืองเซอร์เบียเป็นเวลาหลายปี โดยผู้นำออสเตรีย-ฮังการี เค้านท์ลีโอโพลด์ วอน เบิร์ชโทลด์ สามารถเอาคืนเซอร์เบียได้โดยมีสัมพันธมิตรอย่างเยอรมนีเข้าช่วยเหลือ โดยตัดสินใจเผชิญหน้ากับกองทัพเซอร์เบีย ก่อนที่จะกระตุ้นก่อให้เกิดการต่อต้านภายในจักรวรรดิ โดยใช้กรณีการลอบปลงพระชนม์เป็นข้ออ้างในการก่อสงครามกับเซอร์เบีย
บรรทัด 331:
== การล้มล้างจักรวรรดิ ==
[[ไฟล์:Austria_obituary.jpg|thumb|right|200px|การประกาศยุบจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีถูกตีพิมพ์และแจกจ่ายเมื่อ พ.ศ. 2461 ในคราโคว์ (ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของโปแลนด์)]]
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 1 คือฝ่ายพันธมิตรซึ่งได้แก่[[จักรวรรดิอังกฤษ]] [[ฝรั่งเศส]] [[อิตาลี]] และ[[สหรัฐอเมริกา]]ได้รับชัยชนะ นัก[[ชาตินิยม]]ได้รับกระแสนิยมในอิสรภาพมากขึ้น โดย[[ประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกา]] [[วูดโรว์ วิลสัน]] กล่าวในสุนทรพจน์ "ประเด็นทั้งสิบสี่" ว่า ''โอกาสแห่งอิสรภาพและเสรีภาพได้มาอยู่ในกำมือของเราแล้ว เราจะพัฒนาของเราเอง'' ในทางกลับกัน [[สมเด็จพระจักรพรรดิคาร์ลที่ 1 แห่งออสเตรีย|สมเด็จพระจักรพรรดิคาร์ล]] จักรพรรดิแห่งออสเตรีย-พระราชาธิบดีแห่งฮังการี ได้ทรงเปิดวาระประชุมในสภาอิมพีเรียล โดยมีพระบรมราชานุญาตให้มีการก่อตั้งสมาพันธรัฐพร้อมด้วยการตั้งสภาย่อยเป็นของตนเอง เพื่อรักษาความเป็นจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี ขณะที่หลายฝ่ายเริ่มไม่ไว้วางใจในเสรีภาพหลังจากจบสงครามแล้ว
 
เมื่อวันที่[[14 ตุลาคม]] รัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศ [[บารอนสเตฟาน วอน ราเจ็คส์]] ได้พยายามที่จะพิสูจน์ศรัทธาที่มีต่อจักรวรรดิ โดยสมเด็จพระจักรพรรดิคาร์ลได้ทรงประกาศเรื่องอนาคตของพระราชวงศ์อิมพีเรียล 2 วันหลังจากที่ออสเตรียกลายเป็นสหภาพ-สหพันธรัฐ ซึ่งประกอบด้วยอีก 4 ประเทศคือ [[ประเทศเยอรมนี|เยอรมัน]] [[สาธารณรัฐเช็ก|เช็ก]] สลาฟใต้ และ[[ยูเครน]] ส่วน[[ประเทศโปแลนด์]]นั้นได้รับเอกราชอย่างเต็มตัว
 
ประเทศหลายประเทศที่เป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิต่างก็ประกาศเอกราช ไม่ขึ้นตรงต่อจักรวรรดิอีกต่อไป โดยกลุ่มประเทศแรกที่ประกาศเอกราชนั้นคือ โบฮีเมีย โมราเวีย ซีลีเซีย กาลิเซีย และบูโกวินา โดยรวมประเทศทั้งหมดเป็น[[สาธารณรัฐเช็กโกสโลวเกียที่หนึ่ง]] เมื่อวันที่[[28 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2461]] ต่อมาวันที่[[29 ตุลาคม]] สลาฟใต้ได้ประกาศเอกราชและก่อตั้ง[[รัฐสโลวีเนีย โครเอเชีย และเซิร์บ]] ต่อมา รัฐบาลฮังการีได้ประกาศสิ้นสุดความสัมพันธ์ทางสหภาพกับออสเตรียเมื่อวันที่ [[31 ตุลาคม]] ส่งผลให้ประเทศทุกประเทศที่เป็นของออสเตรีย-ฮังการี แตกแยกไปก่อตั้งประเทศเป็นของตนเอง จะมีอยู่ส่วนน้อยที่ยังขึ้นตรงต่อจักรวรรดิอยู่ เช่น เขตพื้นที่แถบอัลไพน์และดานูบ
 
การนำไปสู่จุดจบของจักรวรรดินี้ สมเด็จพระจักรพรรดิคาร์ล (ใช้พระนามคาร์ลที่ 4 ในฮังการี) ได้ถูกรัฐบาลของออสเตรียและฮังการีขับออกจากราชสมบัติ โดยพระองค์ไม่ทรงสละราชสมบัติ เมื่อวันที่[[11 พฤศจิกายน|11]] - [[13 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2461]] ในความที่พระองค์ไม่ทรงสละราชสมบัตินั้น ก็ยังมีประชาชนส่วนหนึ่งที่ยังคงมีความจงรักภักดีต่อพระองค์และพระราชวงศ์อิมพีเรียลอยู่ ทำให้เกิดกระแสการฟื้นฟูสถาปนาระบอบพระมหากษัตริย์ในฮังการี เมื่อ[[เดือนมีนาคม]] [[พ.ศ. 2463]] โดยพระองค์ยังคงราชสมบัติอยู่ แต่จะมีผู้สำเร็จราชการแทนคือ [[มิคลอส ฮอร์ตี้]] ดูแลปกครองประเทศแทนพระองค์ ส่วนตัวพระองค์พร้อมด้วยพระราชวงศ์อพยพไปที่[[ประเทศสวิตเซอร์แลนด์]] และเกาะมาไดร่า [[ประเทศโปรตุเกส]]และประทับอยู่ที่นั่น จนกระทั่งพระองค์เสด็จสวรรคตด้วยโรคปอดบวม
 
=== ประเทศใหม่ ===