ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เสือใบ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{เพิ่งตาย}}
'''เสือใบ''' มีชื่อจริงคือว่า '''ใบ สะอาดดี''' เป็นชาวจังหวัด[[สุพรรณบุรี]] เป็นจอมโจรชื่อดังในยุคหลัง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]]ที่โด่งดัง ร่วมสมัยกับ [[เสือดำ (โจร)|เสือดำ]], [[เสือหวัด]] , [[เสือฝ้าย]] , [[เสือมเหศวร]] เป็นต้น โดยเสือใบจะออกปล้นในแถบ[[ภาคกลาง]] จังหวัดสุพรรณบุรีและจังหวัด[[ลพบุรี]] โดยเวลาออกปล้นจะแต่งชุด[[สีดำ]] สวมหมวกดำ และปล้นด้วยความสุภาพ จนได้รับฉายาว่า '''สุภาพบุรุษเสือใบ''' และในช่วง[[สงครามโลกครั้งที่สองในประเทศไทย|สงครามโลกครั้งที่สอง]] ยังได้เข้าร่วมกับ[[ขบวนการไทยถีบ]] ดักปล้นและถีบสินค้าหรืออาวุธของทางทหารญี่ปุ่นจากขบวนตู้รถไฟด้วย
{{เพิ่มอ้างอิง}}
 
เสือใบ ได้กลายเป็นจอมโจรที่มีชื่อเสียงในราวปี พ.ศ. 2487 เมื่อมีอายุ 30 ปี หลังจากถูกโจรกลุ่มหนึ่งเข้ามาปล้นควายที่บ้านพร้อมกับฉุดผู้เป็นน้องภรรยาไปด้วย จึงแค้นและตามไปล้างแค้น และได้กลายเป็นโจรร้ายไป โดยสังกัดในชุมโจรของเสือฝ้าย ที่จังหวัดสุพรรณบุรี ก่อนที่จะแยกตัวเองออกมาเป็นอิสระ มีสมุนบริวารในสังกัดตัวเองกว่า 30 คน เมื่อมีชื่อเสียง เสือใบจะปล้นแต่เฉพาะในเขตจังหวัดสิงห์บุรี, อ่างทอง และชัยนาท เท่านั้น โดยไม่ล่วงล้ำเข้าไปในเขตของจังหวัดสุพรรณบุรี เพราะถือว่าเป็นเขตอิทธิพลของเสือฝ้าย ผู้มีศักดิ์ศรีเป็นเจ้านายเก่า และจะเลือกปล้นเฉพาะคนรวยที่ขูดเลือดคนจนเท่านั้น โดยจะไม่ปล้นเอาทรัพย์สินทั้งหมด แต่จะเอาไปเพียงครึ่งเดียวเท่านั้น และถ้าหากเจ้าทรัพย์ไม่ยินยอม ก็จะไม่ทำร้ายหรือข่มขู่บังคับ รวมถึงไม่ทำร้ายเจ้าทรัพย์ด้วย เว้นแต่ขัดขืนหรือต่อสู้
'''เสือใบ''' มีชื่อจริงคือ '''ใบ สะอาดดี''' เป็นชาวจังหวัด[[สุพรรณบุรี]] เป็นจอมโจรชื่อดังในยุคหลัง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]]ที่โด่งดัง ร่วมสมัยกับ [[เสือดำ (โจร)|เสือดำ]], [[เสือหวัด]] , [[เสือฝ้าย]] , [[เสือมเหศวร]] เป็นต้น โดยเสือใบจะออกปล้นในแถบ[[ภาคกลาง]] จังหวัดสุพรรณบุรีและจังหวัด[[ลพบุรี]] โดยเวลาออกปล้นจะแต่งชุด[[สีดำ]] สวมหมวกดำ และปล้นด้วยความสุภาพ จนได้รับฉายาว่า '''สุภาพบุรุษเสือใบ''' และในช่วง[[สงครามโลกครั้งที่สองในประเทศไทย|สงครามโลกครั้งที่สอง]] ยังได้เข้าร่วมกับ[[ขบวนการไทยถีบ]] ดักปล้นและถีบสินค้าหรืออาวุธของทางทหารญี่ปุ่นจากขบวนตู้รถไฟด้วย
 
เมื่อเสือใบถูกจับได้ และกลายเป็นอาชญากร ศาลได้ตัดสินลงโทษให้ประหารชีวิต แต่เจ้าตัวยอมรับสารภาพ จึงได้รับการหย่อนโทษให้เหลือจำคุกตลอดชีวิต และกลายมาเป็นจำคุกเพียง 20 ปี อีกทั้งในระหว่างที่ต้องโทษ ยังได้ช่วยเหลือพัศดีจากการถูกนักโทษด้วยทำร้ายด้วย
เสือใบถูกปราบได้โดยนายตำรวจมือปราบชั้นยอด คือ [[ขุนพันธรักษ์ราชเดช]]
 
เรื่องราวของเสือใบ โด่งดังเป็นที่รู้จักกันอย่างมาก จนกลายมาเป็นวรรณกรรมของ [[ป. อินทรปาลิต]] ถูกนำมาสร้างเป็นภาพยนตร์สองครั้ง ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2514 ชื่อ ''สุภาพบุรุษเสือใบ'' ผู้รับบทเสือใบ คือ [[ครรชิต ขวัญประชา]] และในปี [[พ.ศ. 2541]] ในเรื่อง ''[[เสือ โจรพันธุ์เสือ]]'' ที่ซึ่งบทเสือใบ นำแสดงโดย [[อำพล ลำพูน]] กำกับการแสดงโดย [[ธนิตย์ จิตนุกูล]] แต่ภาพยนตร์เรื่องนี้เสือใบในเรื่องแตกต่างจากเสือใบในชีวิตจริงโดยสิ้นเชิง เป็นต้นว่า เปลี่ยนชื่อจริงของเสือใบเป็น เรวัติ วิชชุประภา และเป็นลูกชายของขุนนางผู้ใหญ่ผู้หนึ่งในยุคก่อน[[การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 |การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475]] ที่ภรรยาถูกฆ่าตายและถูกใส่ความจนต้องหนีเข้าป่าไปเป็นโจร หรือ นายตำรวจผู้ปราบเสือใบ ชื่อ ผู้กองยอดยิ่ง สุวรรณากร ที่รับบทโดย [[ดอม เหตระกูล]] เป็นต้น
 
ในบั้่นปลายชีวิต เสือใบอาศัยอยู่กับลูกหลานที่บ้านพักส่วนตัวที่บ้านพันตำลึง ตำบลดอนกำยาน [[อำเภอเมืองสุพรรณบุรี|อำเภอเมือง]] จังหวัดสุพรรรณบุรี
ในชีวิตบั้นปลาย เสือใบยังคงมีสุขภาพยังคงแข็งแรงแม้อายุจะล่วงเข้าวัย 90 กว่าแล้วก็ตาม
 
เสือใบ เสียชีวิตในวัย 94 ปี เมื่อเวลา 11.00 น. ของวันที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2558 ที่[[โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า]] ด้วยอาการติดเชื้อในกระแสเลือดอย่างรุนแรง จากอาการเส้นเลือดโป่งไปกดทับทางเดินหายใจ <ref>[http://www.thairath.co.th/content/500859 ปิดตำนาน'เสือใบ'วัย94 ปี อดีตขุนโจรชื่อดัง จากไทยรัฐ]</ref> <ref>[http://www.komchadluek.net/detail/20150524/206825.html สิ้นเสือใบ!ปิดตำนานโจรคุณธรรมวัย94ปี จากคมชัดลึก]</ref>
อนึ่ง คำว่า "เสือใบ" ในปัจจุบันเป็น[[ศัพท์แสลง]]ที่เป็นที่รู้จักกันดีว่า หมายถึงชายที่มีพฤติกรรมรักได้ทั้งสองเพศ โดยแผลงมาจากคำว่า Bisexual ใน[[ภาษาอังกฤษ]] ซึ่งเมื่อเรียกทับศัพทืมาเป็นไทย จะใช้คำว่า เสือไบ ซึ่งไม่มีความเกี่ยวข้องกันกับ คำว่า เสือใบ แต่อย่างใด
 
== ข่าวมรณกรรม ==
เสือใบได้เสียชีวิตแล้วที่โรงพยาบาลพระมงกุฏเกล้า ตั้งสวด 7 วัน ที่วัดพันตำลึง <ref>http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1432472782</ref>
 
อนึ่ง คำว่า "เสือใบ" ในปัจจุบันเป็น[[ศัพท์แสลง]]ที่เป็นที่รู้จักกันดีว่า หมายถึงชายที่มีพฤติกรรมรักได้ทั้งสองเพศ โดยแผลงมาจากคำว่า Bisexual ใน[[ภาษาอังกฤษ]] ซึ่งเมื่อเรียกทับศัพทืมาเป็นไทย จะใช้คำว่า เสือไบ ซึ่งไม่มีความเกี่ยวข้องกันกับ คำว่า เสือใบ แต่อย่างใด<ref>
* [http://www.naewna.com/news.asp?ID=66971 สอบปากคำโจรกลับใจ...เสือดำ-เสือใบ!!! อดีตเสือร้ายแดนสุพรรณ-คู่อริ"ขุนพันธ์"] (สกู๊ปแนวหน้า)</ref>
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
* [http://www.naewna.com/news.asp?ID=66971 สอบปากคำโจรกลับใจ...เสือดำ-เสือใบ!!! อดีตเสือร้ายแดนสุพรรณ-คู่อริ"ขุนพันธ์"] (สกู๊ปแนวหน้า)
 
{{อายุขัย||2558}}
[[หมวดหมู่:บุคคลจากจังหวัดสุพรรณบุรี‎‎]]
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/เสือใบ"