ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การชำระเลือดผ่านเยื่อ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Roonie.02 (คุย | ส่วนร่วม)
Roonie.02 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 29:
Heparin เป็นสารกันเลือดแข็งที่ใช้กันมากที่สุดในการฟอกเลือด เนื่องจากโดยทั่วไปมันอดทนได้ดีและสามารถกลับตัวได้อย่างรวดเร็วด้วย protamine sulfate การแพ้ Heparin อาจจะเป็นปัญหาไม่บ่อยนักและอาจทำให้เกล็ดเลือดต่ำ ในผู้ป่วยดังกล่าว สารกันเลือดแข็งที่เป็นทางเลือกสามารถนำมาใช้ได้ ในผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงการตกเลือดสูง การล้างไตอาจสามารถทำได้โดยไม่ต้องใช้สารกันเลือดแข็ง
 
First Use Syndrome เป็นปฏิกิริยาการแพ้ ({{lang-en|anaphylactic reaction}}) ที่หายากแต่รุนแรงต่อไตเทียม อาการของมันรวมถึงจาม หอบ หายใจถี่ ปวดหลัง เจ็บหน้าอกหรือเสียชีวิตอย่างกะทันหัน มันอาจเกิดจากสารฆ่าเชื้อ ({{lang-en|sterilant}}) ที่ตกค้างในไตเทียมหรือจากวัสดุของเมมเบรนมันเอง ในปีที่ผ่านมาอุบัติการณ์ของโรค First Use Syndrome ได้ลดลงเนื่องจากการใช้งานที่เพิ่มขึ้นของการฉายรังสีแกมมา การฆ่าเชื้อด้วยการอบไอน้ำ หรือการฉายรังสีลำแสงอิเล็กตรอนแทนการใช้สารฆ่าเชื้อที่เป็นสารเคมี และการพัฒนาของเยื่อ semipermeable ใหม่ที่มีการใช้แทนกันได้ทางชีวะ ({{lang-en\|biocompatibility}}) สูง วิธีการใหม่ของขบวนการชิ้นส่วนการฟอกเลือดที่ผ่านการยอมรับก่อนหน้านี้จะต้องนำมาพิจารณาเสมอ ยกตัวอย่างเช่นในปี 2008 ปฏิกิริยาชนิดแรกของอาการ first-use ได้แก่การเสียชีวิต, ได้เกิดขึ้นจากการปนเปื้อนยา heparin ในระหว่างขั้นตอนการผลิตที่มี chondroitin sulfate ที่ผ่านขบวนการซัลเฟสมากเกินไป ({{lang-en|oversulfated}})<ref>{{cite journal |author=Kishimoto TK, Viswanathan K, Ganguly T et al. |title=Contaminated heparin associated with adverse clinical events and activation of the contact system |journal=N Engl J Med |volume=358 |issue=23 |pages=2457–67 |year=2008 |pmid=18434646 |doi=10.1056/NEJMoa0803200 |pmc=3778681}}</ref>
 
ภาวะแทรกซ้อนระยะยาวของการฟอกเลือดจะรวมถึง amyloidosis (การผิดปรกติที่มีลักษณะของการสะสมของ amyloid (สารที่มีลักษณะคล้ายแป้ง) ในอวัยวะหรือในเนื้อเยื่อ) รวมทั้งการอักเสบและรูปแบบต่างๆของโรคหัวใจ การเพิ่มความถี่และระยะเวลาของการรักษาก็เพื่อปรับปรุงการโอเวอร์โหลดของของเหลวและหลีกเลี่ยงการขยายตัวของหัวใจที่มักเห็นได้บ่อยในผู้ป่วยดังกล่าว<ref>[http://www.homedialysis.org/pros/abstracts/20051014/ Effects of short daily versus conventional hemodialysis on left ventricular hypertrophy and inflammatory markers: a prospective, controlled study]</ref><ref>{{cite journal |author=Weinreich T, De los Ríos T, Gauly A, Passlick-Deetjen J |title=Effects of an increase in time vs. frequency on cardiovascular parameters in chronic hemodialysis patients |journal=Clin. Nephrol. |volume=6 |issue=6 |pages=433–9 |year=2006 |pmid=17176915 |doi=}}</ref>