ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รายงานผู้ป่วย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
แปลเสร็จ
 
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับให้ดีขึ้น
บรรทัด 9:
และอาจจะมีข้อมูลทางประชากรอื่น ๆ เกี่ยวกับผู้ป่วย
ปกติจะเป็นรายงานเกี่ยวกับเค้สที่แปลกหรือใหม่
และบางครั้งจะมี[[การทบทวนวรรณกรรม]] (literature) ของเค้สอื่น ๆ ที่ได้รับรายงานมาแล้ว
 
== รูปแบบ ==
รายงานเค้สโดยมากจะมีประเด็น 6 อย่างคือ<ref>{{cite book |author = Volkland, Debra; Iles, Robert L. |title = Guidebook to better medical writing |publisher = Island Press |location = Washington, DC |year = 1997 |isbn = 0-9661831-0-X |oclc = 41579709 }}</ref>
* ความสัมพันธ์ที่ไม่คาดฝันระหว่าง[[โรค]]และกับ[[อาการ]]
* เหตุการณ์ที่ไม่คาดฝันในช่วงที่ทำการสังเกตการณ์หรือรักษาผู้ป่วย
* การค้นพบที่เพิ่มความเข้าใจเกี่ยวกับ[[พยาธิกำเนิด]]ที่อาจเป็นไปได้ หรือเกี่ยวกับผลร้ายอย่างหนึ่ง ของโรค
บรรทัด 25:
แต่ก็ยังมีประโยชน์ในงานวิจัยทางการแพทย์และ[[เวชปฏิบัติอิงหลักฐาน]]<ref name=Gagnier2013>{{cite journal |author = Gagnier, JJ; Kienle, G; Altman, DG; Moher, D; Sox, H; Riley, D |title = The CARE guidelines: consensus-based clinical case reporting guideline development |journal = Headache |volume = 53 |issue = 10 |pages = 1541-7 |year = 2013 |pmid = 24266334 |doi = 10.1111/head.12246 |url = http://onlinelibrary.wiley.com/doi/10.1111/head.12246/full}}</ref>
โดยเฉพาะก็คือ ช่วยให้รู้จักโรคใหม่ ๆ และผลที่ไม่พึงประสงค์ของการรักษาพยาบาล<ref name=Aronson2006>{{cite journal |author = Aronson, JK; Hauben, M |title = Anecdotes that provide definitive evidence |journal = BMJ |volume = 333 |issue = 7581 |pages = 1267-9 |date = 2006-12 |pmid = 17170419 |pmc = 1702478 |doi = 10.1136/bmj.39036.666389.94 }}</ref>
(ยกตัวอย่างเช่น ความสัมพันธ์ระหว่างการให้ยาคุมภูมิคุ้มกัน thalidomide แก่หญิงตั้งครรภ์ กับการพัฒนาอย่างผิดปกติของทารกในครรภ์ รู้จักเป็นครั้งแรกเนื่องจากรายงานเค้สกรณีหนึ่งโดยเฉพาะ)<ref>{{cite web |year=2003 |author=Vandenbroucke, Jan P |url = http://www.jameslindlibrary.org/illustrating/articles/thalidomide-an-unanticipated-adverse-effect |title = Vandenbroucke JP (2003). Thalidomide: andan congenitalunanticipated abnormalitiesadverse effect. |publisher = James Lind Library |accessdate = 20142015-0504-2822}}</ref><ref name=McBride1961 />)
รายงานเค้สมีบทบาทในการศึกษาเกี่ยวกับอาการไม่พึงประสงค์จากยา (pharmacovigilance)<ref name=Aronson2006/>
ช่วยให้เข้าใจขอบเขตทางคลินิกของ[[โรคหายาก]]และอาการปรากฏที่ไม่ทั่วไปของโรคสามัญ<ref name=Gagnier2013/>
บรรทัด 31:
และอาจช่วยแนะนำแนวทางในการปรับการรักษาพยาบาลให้เข้ากันกับคนไข้แต่ละคน<ref name=Gagnier2013/>
ผู้สนับสนุนแบบงานศึกษาได้ร่างข้อดีอย่างย่อ ๆ ของรายงานเค้ส คือ
ทั้ง case report (รายงานเค้ส) และ case series มีความไวสูงในการตรวจจับความแปลกใหม่ และดังนั้นจะดำรงเป็นหลักสำคัญในความก้าวหน้าทางการแพทย์
และสามารถให้ไอเดียใหม่ ๆ มากมายทางการแพทย์<ref>{{cite journal |author = Vandenbroucke, JP |title = In defense of case reports and case series |journal = Ann. Intern. Med. |volume = 134 |issue = 4 |pages = 330-4 |date = 2001-02 |pmid = 11182844 |doi = 10.7326/0003-4819-134-4-200102200-00017 }}</ref>
บรรทัด 48:
คุณภาพในการรายงานกรณีคนไข้โดยเป็นหลักฐานทางวิทยาศาสตร์นั้นมีความต่าง ๆ กัน
แต่การรายงานที่ไม่สมบูรณ์จะขัดขวางการใช้รายงานเค้สเพื่อออกแบบการทดลองหรือเพื่อแนะแนวทางเวชปฏิบัติทางคลินิก<ref name=Gagnier2013/>
ดังนั้น จึงมีการพัฒนาแนวทางการรายงาน (reporting guideline) ที่กำลังเป็นไปหลายแนวทางแนว ที่จะช่วยสร้างความโปร่งใสและความสมบูรณ์ของข้อมูลที่ให้ในกรณีคนไข้แต่ละกรณี<ref name=Gagnier2013/>
EQUATOR Network<ref name=EQUATOR>{{cite web |url = http://www.equator-network.org/reporting-guidelines/care/ |title = The CARE Guidelines: Consensus-based Clinical Case Reporting Guideline Development |publisher = The EQUATOR Network |accessdate = 2014-05-28}}</ref>
(ซึ่งเป็นโครงการริเริ่มนานาชาติมีจุดมุ่งหมายที่จะสนับสนุนการรายงานงานวิจัยสุขภาพที่โปร่งใสและแม่นยำ เพื่อเพิ่มคุณค่าและความน่าเชื่อถือได้ของผลงานวิจัย) ได้ออกแนวทาง CARE (ย่อมาจาก CAse REport) ที่มีรายการตรวจสอบ ที่เข้าถึงได้ทางเว็บไซต์ของโครงการ<ref name=EQUATOR /> และโดยงานที่พิมพ์ในปี ค.ศ. 2013<ref name=Gagnier2013 />
บรรทัด 66:
''Journal of Medical Case Reports (วารสารรายงานเค้สทางการแพทย์)'', ''Oncology Reports (รายงานวิทยาเนื้องอก)'', ''Oncology Letters (จดหมายวิทยาเนื้องอก)'' และ ''Cases Journal (วารสารกรณีผู้ป่วย)'';
ซึ่งล้วนแต่เป็นวารสารทางการแพทย์ในสาขาการแพทย์ต่าง ๆ ที่มีการปริทัศน์โดยผู้ชำนาญงาน
 
''Cases Journal'' พึ่งรวมตัวกับ ''Journal of Medical Case Reports'' แต่ก็ยังมีเว็บไซต์เป็นของตนเอง
ส่วน ''BMJ Case Reports (รายงานเค้สของวารสารการแพทย์ BMJ)'' เป็นวารสาร[[ออนไลน์]] มีการปริทัศน์โดยผู้ชำนาญ ที่พิมพ์กรณีผู้ป่วยในทุก ๆ สาขา
ส่วน ''Radiology Case Reports (รายงานเค้สรังสีวิทยา)''<ref>{{cite web |url = http://radiology.casereports.net |title = Radiology Case Reports }}</ref>
และ ''Journal of Radiology Case Reports (วารสารรายงานเค้สรังสีวิทยา)''<ref>{{cite web |url = http://www.radiologycases.com |title = Case Reports |work = Journal of Radiology Case Reports }}</ref>
เป็นวารสารที่[[การเข้าถึงแบบเสรี|เข้าถึงได้อย่างเสรี]] ที่มีการปริทัศน์โดยผู้ชำนาญ ที่พุ่งความสนใจไปที่การสร้างภาพรังสี (medical imaging)
ส่วน ''Journal Of Surgical Case Reports (วารสารรายงานเค้สศัลยกรรม)''<ref>{{cite web |url = http://www.jscr.co.uk |title = JSCR |work = Journal of Surgical Case Reports }}</ref>
เป็นวารสารที่[[การเข้าถึงแบบเสรี|เข้าถึงได้อย่างเสรี]] ที่มีการปริทัศน์โดยผู้ชำนาญ ที่พิมพ์รายงานในสาขา[[ศัลยกรรม]]
ส่วน ''Journal of Orthopaedic Case Reports (วารสารรายงานเค้สออร์โทพีดิกส์)''<ref>{{cite web |url = http://www.jocr.co.in/wp/ |title = Journal of Orthopaedic Case Reports }}</ref>
เป็นวารสารที่[[การเข้าถึงแบบเสรี|เข้าถึงได้อย่างเสรี]] ที่มีการปริทัศน์โดยผู้ชำนาญ
ส่วน ''Oncology Reports'' และ ''Oncology Letters'' พิมพ์รายงานเค้สโดย[[การเข้าถึงแบบเสรี|เข้าถึงได้อย่างเสรี]]อย่างล้วน ๆ และมีการปริทัศน์โดยผู้ชำนาญ ในสาขา[[วิทยาเนื้องอก]]
 
เส้น 83 ⟶ 84:
 
== การใช้คำนี้นอกสาขาวิทยาศาสตร์ ==
คำว่า case report ก็มีการใช้ด้วยในสาขาการศึกษาอื่น ๆ
 
== รายงานเค้สทางวิทยาศาตร์ที่มีชื่อเสียง ==
* [[ซิกมุนด์ ฟรอยด์]]ทำรายงานคนไข้หลายกรณีรวมทั้ง Anna O (กรณีแรกในการรักษาด้วย[[จิตวิเคราะห์]]) Dora (รายงานเค้สงานแรกของฟรอยด์ ที่มีการถกเถียงมากที่สุด) Little Hans (เด็กกลัวม้าอายุ 5 ขวบผู้มี Oedipus complex) Rat Man (คนไข้ที่มีจินตนาการหมกมุ่นเกี่ยวกับหนู) และ Wolf Man (คนไข้ที่ฝันถึงต้นไม้ที่เต็มไปด้วยหมาป่าสีขาว เป็นคนไข้[[จิตวิเคราะห์]]ถึง 6 ทศวรรษ นานที่สุดคนหนึ่งในประวัติศาสตร์จิตวิเคราะห์)
* รายงานเกี่ยวกับ[[โจเซฟ เมอร์ริค]] (มนุษย์ช้าง)
* นายแพทย์ชาวฝรั่งเศส พอล โบรกา รายงานความบกพร่องทางภาษาหลังจากเกิด[[รอยโรค]]ที่[[ซีกสมอง|สมองซีกซ้าย]]ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1860