ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชูวงศ์ ฉายะจินดา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Infinite0694 (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 5963566 สร้างโดย Ohm Subhadhorn (พูดคุย) rvv
Infinite0694 (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 5963542 สร้างโดย Ohm Subhadhorn (พูดคุย) rvv
บรรทัด 1:
{{ตรวจลิขสิทธิ์}}
๕ ทศวรรษบนเส้นทางแห่งบรรณพิภพวรรณกรรม
'''ชูวงศ์ ฉายะจินดา''' เป็นทั้งชื่อ - นามสกุลจริง และเป็นนามปากกาซึ่งเป็นที่รู้จักกันดีและใช้ในการเขียนนวนิยายจนตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน นอกจากนี้ยังมีนามปากกาอื่น ๆ อีก คือ '''เทิดพงษ์''' ใช้เมื่อเขียนเรื่องสั้นในช่วงแรก ๆ และนวนิยายเรื่องแรก คือ ''ตำรับรัก '' '''กล้วยไม้ ณ วังไพร''' , '''แก้วเจียระไน''' , '''กรทอง''' และ'''ทวิชา'''ทั้ง 4 นามปากกาใช้ในการเขียนนวนิยายลงตีพิมพ์ในหน้านิตยสารต่าง ๆ
(ระหว่างพุทธศักราช ๒๔๙๓-๒๕๕๔)
ราชินีนวนิยายพาฟัน ‘ชูวงศ์ ฉายะจินดา’
 
ชูวงศ์ ฉายะจินดา เกิดเมื่อวันพฤหัสบดีที่ [[25 ธันวาคม]] พุทธศักราช 2473 เป็นบุตรคนสุดท้องในพี่น้องร่วมมารดาทั้งหมดห้าคนของพระชาญบรรณกิจ (ถวิล ฉายะจินดา) อดีตรองอธิบดีกรมบัญชีกลางกระทรวงการคลังและนางชาญบรรณากิจ (ช่วง ฉายะจินดา) ชูวงศ์ ฉายะจินดา หยุดเขียนนวนิยายไปยาวนาน นับตั้งแต่ปีพุทธศักราช 2521 เมื่อเดินทางย้ายไปพำนักอยู่ที่ประเทศออสเตรเลีย ทิ้งผลงานให้ผู้อ่านตามรอยไว้เกือบ 70 เล่ม จนกระทั่งปีพุทธศักราช 2540 จึงกลับเข้าสู่วงวรรณกรรมอีกครั้ง ซึ่งนับเป็นเวลาที่ห่างหายไปจากงานเขียนเป็นเวลา 20 ปี ปัจจุบัน ชูวงศ์ ฉายะจินดา อาศัยอยู่ ณ นครเมลเบริร์น ประเทศออสเตรเลียมากว่า 40 ปี มีบุตรชายหนึ่งคน คือ นายโชติรส ฉายะจินดา (เสียชีวิตแล้ว)
พุทธศักราช ๒๔๗๓
ชูวงศ์ ฉายะจินดา เกิดเมื่อวันพฤหัสบดีที่ ๒๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๔๗๓ ณ บ้านเลขที่ ๙๕/๖ ถนนสามเสน ตำบลวัดสามพระยา อำเภอพระนคร จังหวัดพระนคร
บิดา คือ พระชาญบรรณกิจ (ถวิล ฉายะจินดา) ต.ช. อดีตรองอธิบดีกรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลังและรัฐพาณิชย์ชั้นพิเศษ กระทรวงพาณิชย์ มารดา คือ นางชาญบรรณกิจ (ช่วง ฉายะจินดา) ด้วยเหตุนี้จึงตั้งนามของธิดาคนสุดท้องว่า ‘ชูวงศ์’ อันหมายถึง ‘เชิดชูวงศ์ตระกูล’
ชูวงศ์ ฉายะจินดา เป็นบุตรคนที่ห้า มีพี่น้องร่วมบิดามารดา คือ
๑. นายแพทย์สมหวัง ฉายะจินดา (ถึงแก่กรรม)
๒. นายวิเชียร ฉายะจินดา (ธ.บ.) (ถึงแก่กรรม)
๓. ทันตแพทย์หญิงฉวี ตัณศุภผล (สมรสกับนายสะอาด ตัณศุภผล ; น.บ.) (ถึงแก่กรรม)
๔. แพทย์หญิงไฉว สุขุม (สมรสกับนายแพทย์กิตติประวัติ สุขุม ; ถึงแก่อนิจกรรม)
ต่อมาย้ายไปพำนักอย่างสงบอยู่ที่นครเมลเบิร์น รัฐวิกตอเรีย ประเทศออสเตรเลียกว่า ๖๐ ปี มีบุตรชายชื่อ นายโชติรส (ฉายะจินดา) สอนสมบูรณ์ ถึงแก่กรรมแล้ว
 
== การศึกษา ==
นามปากกาทั้ง ๙
ชูวงศ์ ฉายะจินดา ได้รับการศึกษาขั้นต้นจากโรงเรียนเล็ก ๆ ใกล้บ้านชื่อ ‘โรงเรียนสนิทราษฏร์บริบูรณ์’จากนั้นเข้ารับการศึกษาต่อที่[[โรงเรียนราชินี]] ถนนมหาราช จนเมื่อศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เกิดสงครามมหาเอเชียบูรพาขึ้น บิดาคือพระชาญบรรณกิจ จึงได้อพยบครอบครัวไปหลบภัยที่ตำบลวัดแจ้งร้อน จึงได้เข้าศึกษาต่อที่โรงเรียนวิสุทธิ์กษัตริย์ พระประแดง [[จังหวัดสมุทรปราการ]] ชั่วคราวในช่วงสงครามมหาเอเชียบูรพา
“ชูวงศ์ ฉายะจินดา” เป็นชื่อ - นามสกุลจริงและเป็นนามปากกาที่ผู้อ่านทุกยุคทุกสมัยรู้จักดี โดยใช้ในการเขียนนวนิยายมานานกว่า ๖ ทศวรรษ
นอกจากนี้ยังมีนามปากกาอื่น ๆ อีก ได้แก่
๑. กรทอง
๒. กล้วยไม้ ณ วังไพร
๓. กุสุมาวดี
๔. แก้วเจียระไน
๕. ทวิชา
๖. เทิศพงษ์
๗. ประกายแก้ว
๘. แสงเพชร
จนกระทั้งปีพุทธศักราช ๒๕๒๕ จึงหยุดใช้นามปากกาทั้ง ๘ นามปากกา คงเหลือใช้เพียงนามปากกาเดียว คือ ‘ชูวงศ์ ฉายะจินดา’ ซึ่งใช้มาจนถึงปัจจุบัน
 
ต่อมาเมื่อโรงเรียนราชินีอพยบไปเปิดสอนที่ตำบลผักไห่ [[จังหวัดพระนครศรีอยุธยา]] ชูวงศ์ ฉายะจินดา จึงกลับไปเรียนต่อที่โรงเรียนราชินีตามเดิม ปีพุทธศักราช 2488 สงครามมหาเอเชียบูรพาสงบลง โรงเรียนราชินีจึงย้ายกลับกรุงเทมหานคร ชูวงศ์ ฉายะจินดา เรียนจบชั้นมัธยมบริบูรณ์ (เตรียมอักษรศาสตร์) ปีที่ 2 เมื่อปีพุทธศักราช 2490 ร่วมรุ่นกับเดียวกับ สุกัญญา ชลศึกษ์ (กฤษณา อโศกสิน) และปราศรัย รัชไชยบุญ (นิดา)
 
จากนั้นเข้าศึกษาที่ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ [[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] ได้รับปริญญาอักษรศาสตร์บัณฑิต รางวัลเหรียญเงินในวิชาสันสกฤต เมื่อปีพุทธศักราช 2494 ปีพุทธศักราช 2500 ได้รับทุนจากรัฐบาลออสเตรเลีย ภายใต้แผนการโคลัมโบ ไปศึกษาต่อที่ UNIVERSITY OF MELBOURNE ณ นครเมลเบริร์น ประเทศออสเตรเลีย ในสาขาวิชาวาทศิลป์ (RHETORIC)
 
== การทำงาน ==
ประถมวัย
วัยเด็กชูวงศ์ได้รับการศึกษาขั้นต้นจากโรงเรียนเล็ก ๆ ใกล้บ้านชื่อ “โรงเรียนสนิทราษฏร์-บริบูรณ์” จนกระทั้งอายุ ๖ ขวบจึงเข้าเรียนในชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ที่โรงเรียนราชินี (ถนนมหาราช) ได้รับพระเมตตาจากหม่อมเจ้าหญิงพิจิตรจิราภา เทวกุล อาจารย์ใหญ่เป็นอย่างยิ่ง แม้จะมีปัญหาด้านสุขภาพป่วยเป็นโรคหลอดลมอักเสบทำให้ต้องหยุดเรียนอยู่บ่อยครั้ง จนเมื่อเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ เกิดสงครามมหาเอเชียบูรพา โรงเรียนทั้งหลายในพระนครต้องปิด ผู้คนอพยพหนีภัยทางอากาศไปหลบซ่อนตามต่างจังหวัดที่ไกลจากจุดยุทธศาสตร์ พระชาญบรรณกิจ จึงได้อพยพครอบครัวไปหลบภัยยังบ้านพักในสวนผลไม้ที่ตำบลวัดแจ้งร้อน ฝั่งธนบุรี และเพื่อมิให้การเรียนต้องหยุดชะงัก บิดาจึงส่งชูวงศ์และพี่สาวทั้งสองเข้าศึกษาต่อที่โรงเรียนวิสุทธิ์-กษัตริย์ พระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ ในระหว่างที่โรงเรียนราชินียังไม่เปิดสอน ส่วนบุตรชายทั้งสองรับราชการทหาร
ต่อมาโรงเรียนราชินีได้ย้ายไปเปิดสอนที่ตำบลผักไห่ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ชูวงศ์จึงไปเรียนต่อที่นั่น เมื่อสุขภาพดีขึ้นและเกรงว่าจะเรียนตามเพื่อนไม่ทันจึงทำให้เกิดความมานะในการเรียน สามารถสอบไล่ได้ที่หนึ่งในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ และได้รับทุนพิมพ์พักตร์พาณี (หม่อมเจ้าหญิงพิมพ์พักตร์พาณี สวัสดิวัฒน์) โดยไม่ต้องเสียค่าเล่าเรียนในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕
สงครามมหาเอเชียบูรพาสิ้นสุดลงในปีพุทธศักราช ๒๔๘๘ ประชาชนที่อพยพหลบภัยต่างพากันกลับภูมิลำเนาเดิม โรงเรียนราชินีได้ย้ายกลับมายังถนนมหาราชดังเดิม และในปีเดียวกันนั้นเอง ชูวงศ์ก็เข้าเรียนต่อชั้นเตรียมอักษรศาตร์ปีที่ ๑ ที่โรงเรียนราชินี (ถนนมหาราช) แล้วได้ย้ายไปเรียนชั้นปีที่ ๒ ที่โรงเรียนราชินี (บางกระบือ) เพราะต้องการเรียนภาษาบาลี ซึ่งที่โรงเรียนราชินี ถนนมหาราชไม่ได้จัดสอน
ชูวงศ์เรียนจนสำเร็จชั้นมัธยมบริบูรณ์ (เตรียมอักษรศาสตร์) ปีที่ ๒ จากโรงเรียนราชินี (บางกระบือ) เมื่อปีพุทธศักราช ๒๔๙๐ เมื่ออายุได้เพียง ๑๓ ปี ร่วมรุ่นเดียวกับ สุกัญญา ชลศึกษ์ (กฤษณา อโศกสิน) และปราศรัย รัชไชยบุญ (นิดา) ชูวงศ์สามารถสอบคัดเลือกเข้าเรียนในแผนกอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้ในปีนั้นเอง
 
ปีพุทธศักราช 2495 เข้ารับราชการครูวิชาภาษาไทย ที่โรงเรียนศิริศาสตร์ สี่พระยา (โรงเรียนศิริทรัพย์ในปัจจุบัน) เป็นเวลา 1 ปี แต่เนื่องจากสุขภาพไม่ดี จึงลาออก
อุดมศึกษา
การเรียนในแผนกอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยทำให้ชูวงศ์มีความรักในการประพันธ์มากยิ่งขึ้นเพราะมีนิสัยรักการขีดเขียนมาตั้งแต่เด็ก โดยได้รับแรงบันดาลใจจากงานประพันธ์ของประพันธกรอาวุโสท่านหนึ่ง คือ ‘ดอกไม้สด’ (หม่อมหลวงบุปผา (กุญชร) นิมมานเหมินท์)
ชูวงศ์เริ่มอ่านหนังสือของ ‘ดอกไม้สด’ มาตั้งแต่ยังเรียนอยู่ในชั้นมัธยมต้นและติดอกตกใจถึงขนาดอยากจะเป็นนักเขียนเสียเอง ในสมัยนั้นผู้ปกครองทั้งหลายยังคงกวดขัน ห้ามปรามมิให้บุตรหลานอ่านหนังสือประเภทนวนิยาย หรือที่เรียกกันว่าหนังสืออ่านเล่น โดยเข้าใจว่าจะทำให้เสียการเรียน แต่ชูวงศ์และพี่ ๆ ก็ยังเก็บเบี้ยเลี้ยงรายวันที่ได้รับมาซื้อหนังสือและนวนิยายที่ออกใหม่ ๆ อยู่เสมอ สำหรับนวนิยายของดอกไม้สดนั้น ชูวงศ์ได้ซื้อไว้ครบทุกเล่มเมื่อบิดาทราบเรื่องท่านก็กลับสนับสนุนที่ลูก ๆ ของท่านรู้จักเลือกหนังสืออ่าน
เมื่อมีอิสระในการอ่าน ชูวงศ์ก็ขยายวงการอ่านให้กว้างขึ้น แทบจะว่าได้ว่าได้อ่านหนังสือทุกประเภททุกนามปากกา ซึ่งในสมัยหกสิบปีก่อน ไม่มีนักประพันธ์มากมายอย่างปัจจุบันนี้ เมื่อได้อ่านชูวงศ์ก็อ่านเรื่อยไปไม่ว่าจะเป็นหนังสือประเภท ชกต่อย , ตีรันฟันแทง , สำนวน ‘ลูกทุ่ง’ หรือสำนวนหวาน ๆ ที่สมัยนั้นเรียกกันว่า สำนวน ‘ข้าพเจ้า - หล่อนจ๋า’ ยิ่งอ่านก็ยิ่งเกิดแรงบันดาลใจที่จะเป็นนักประพันธ์และได้ตั้งปณิธานในใจว่า จะต้องเป็นนักประพันธ์ให้ได้ในชาตินี้
ชูวงศ์เริ่มหัดเขียนตั้งแต่อยู่ชั้นเตรียมอักษรศาสตร์ปีที่ ๑ โรงเรียนราชินี เนื่องจากเพื่อน ๆ ในชั้นเรียนได้จัดทำวารสารรายสะดวกขึ้นเล่มหนึ่งโดยมีเพื่อนสนิท คือ ประภาศรี นาคะนาถ น้องสาวของประหยัด ศ. นาคะนาถ เจ้าของนามปากกา ภา พรสวรรค์ เป็นผู้จัดทำ โดยเพื่อนสนิทอย่างประภาศรีเองก็ได้แต่งนวนิยายขนาดสั้นพร้อมรูปประกอบลงในวารสารฉบับนั้นด้วย ชื่อว่า กลางละอองทอง ทั้งชื่อเรื่องอันละมุนละไมและปลายปากกาอันคมกล้าของเพื่อนคนนี้ ทำให้ชูวงศ์เกิดความหวังว่า วันหนึ่งจะต้องหัดเขียนเรื่องอ่านเล่นบ้าง เพื่อจะได้ร่วมสนุกกับเพื่อน ๆ และเพื่อแสดงความสามารถของตนเองไปในตัว
วันเวลาผ่านไปชูวงศ์ก็ยังคงอยู่ในสภาพ ‘ซุ่มเขียน’ โดยหัดเขียนเรื่องสั้นไว้หลายเรื่อง จบบ้างไม่จบบ้าง แล้วก็ซ่อนให้ห่างไกลจากสายตาของพี่ ๆ ทางบ้านและเพื่อน ๆ ทางโรงเรียน ด้วยรู้สึกอายกลัวใครเขาจะล้อว่าเป็น ‘นักประพันธ์ไส้แห้ง’ อย่างที่เรียกกันเล่น ๆ ในสมัยนั้น จนกระทั่งเรียนจบชั้นเตรียมอุดมศึกษา วารสารรายสะดวกฉบับนั้นก็ยุติโดยที่ชูวงศ์ไม่มีโอกาสฝากผลงานไว้เลยสักชิ้นเดียว
เมื่อเข้าเรียนในแผนกอักษรศาสตร์ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ชูวงศ์ได้รู้จักกับเพื่อนร่วมชั้นที่มีความสามารถในการขีดเขียนหลายคน เป็นต้นว่า กุลทรัพย์ รุ่งฤดี (คุณหญิงกุลทรัพย์ เกษแม่นกิจ) , รัชนี ประทีปะเสน , สิทธา วัชโรทยาน และถาวร ชนะภัย ฯลฯ ซึ่งประภาศรี นาคะนาถ ก็ได้เข้าเรียนอยู่ในชั้นเดียวกันนี้ด้วย เพื่อน ๆ กลุ่มนี้ได้ร่วมมือกันจัดทำวารสารรายสะดวกขึ้นอีกครั้งหนึ่ง โดยมีกุลทรัพย์ รุ่งฤดี เป็นบรรณาธิการ หนังสือฉบับนี้สมบูรณ์กว่าฉบับที่จัดทำกันในสมัยเป็นนักเรียนเตรียมอักษรศาสตร์ กล่าวคือมีคอลัมน์ต่าง ๆ ครบครันดังเช่นนิตยสารจริง ๆ ต่างกันแต่ว่าหนังสือฉบับนี้เขียนด้วยลายมือเท่านั้น ชูวงศ์เองก็ได้เข้ามาร่วมคณะผู้จัดทำด้วยใจรัก แต่ความหวาดเกรงที่จะแสดงงานของเธอในหมู่เพื่อน ๆ ผู้เป็นนักเขียนค่อนข้างมีชื่อเสียงแล้วในขณะนั้น ทำให้ชูวงศ์ต้องตอบคำถามบรรณาธิการว่าจะสามารถรับงานในคอลัมน์ใดได้บ้าง จนในที่สุดชูวงศ์ก็รับเขียนคอลัมน์แฟชั่นและการแต่งกาย
จนกระทั่งปีพุทธศักราช ๒๔๙๔ ชูวงศ์ ฉายะจินดาก็สำเร็จการศึกษาปริญญาอักษรศาตรบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พร้อมทั้งได้รับรางวัลเหรียญเงินในวิชาสันสกฤต
 
ต่อมาเข้ารับราชการครูที่โรงเรียนราชินี สอนอยู่ได้ไม่นานก็ป่วยเป็นโรคหลอดลมอักเสบจึงตัดสินใจลาออกจากอาชีพครูที่รักเข้ารับราชการที่กรมชลประทาน ในแผนกสารบรรณ นาน 3 ปี และเริ่มเขียนเรื่องสั้นส่งให้กับนิตยสาร ‘ศรีสัปดาห์’
 
ปีพุทธศักราช 2500 ได้เข้ากลับรับราชการครูซึ่งเป็นอาชีพที่ตนเองรักอีกครั้งที่โรงเรียนเขมะสิริอนุสสรณ์ และเริ่มเขียนนวนิยายขนาดยาวเรื่องแรก คือ ‘ตำรับรัก’ ลงตีพิมพ์เป็นตอน ๆในนิตยสาร ‘ศรีสัปดาห์’
 
ปีพุทธศักราช 2503 ได้เข้ารับราชการที่มหาวิทยาลัยศรีนทรวิโรฒ ประสานมิตร ในตำแหน่งอาจารย์ภาควิชาภาษาไทย ที่นี่งานเขียนของ ชูวงศ์ ฉายะจินดา ได้ปรากฏสู่สายตาผู้อ่านซึ่งเป็นเพื่อนอาจารย์และนักเรียนด้วยกัน โดยตีพิมพ์เรื่องสั้นในหนังสือที่ระลึกของโรงเรียนพร้อม ๆ กับเขียนนวนิยายลงตีพิมพ์ในนิตยสารหลายฉบับ
บัณฑิตศึกษา
พุทธศักราช ๒๕๐๖ ชูวงศ์สอบชิงทุนรัฐบาลออสเตรเลียภายใต้แผนการโคลัมโบ (COLOMBO PLAN) ไปศึกษาต่อยังมหาวิทยาลัยเมลเบริ์น (THE UNIVERSITY OF MELBOURNE) ที่นครเมลเบิร์น ประเทศออสเตรเลีย ในระดับปริญญาโท (Master of Applied Linguistics) ซึ่งชูวงศ์ได้เลือกศึกษาในสาขาวิชาวาทศาสตร์ (RHETORIC) นอกจากนี้ยังได้ดิโพลมาบริหารธุรกิจ จากสถาบันการจัดการแห่งกรุงเดลฟ์ ประเทศเนเธอร์แลนด์และสำเร็จกลับมาเดือนพฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๕๐๘ ได้เข้ารับราชการเป็นอาจารย์ต่อในวิทยาลัยวิชาการศึกษา ประสารมิตรตามเดิม (ปัจจุบันคือ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ)
 
ต่อมาได้ลาออกจากราชการมาประกอบอาชีพนักเขียนเพียงอย่างเดียว ได้เริ่มเขียนคอลัมน์ในหนังสือพิมพ์ดาวสยาม และได้ทำงานอื่น ๆ เสริม เช่น บริหารโรงเรียนสอนตัดผมและตัดเสื้อดาวรุ่ง เป็นต้น
การทำงาน
ในปีเดียวกับที่ชูวงศ์ได้รับปริญญาอักษรศาตรบัณฑิตแล้ว เธอก็ได้ไปสมัครเป็นอาจารย์สอนวิชาภาษาไทยในชั้นเตรียมอุดมศึกษาที่โรงเรียนศิริศาสตร์ สี่พระยา (ต่อมาเปลื่อนชื่อเป็นโรงเรียนศิริทรัพย์ ปัจจุบันได้ปิดกิจการไปแล้ว) ที่นั่นได้ปรากฏผลงานสู่สายตาผู้อ่านเป็นครั้งแรก เมื่ออายุ ๒๑ ปีเต็ม ในการจัดทำหนังสือที่ระลึกของโรงเรียนสำหรับแจกในงานประจำปีนั้น ครูทุกคนในโรงเรียนถูกขอร้องให้เขียนเรื่องอะไรก็ได้ลงในหนังสือโรงเรียนเพื่อเป็นอนุสรณ์ โดยชูวงศ์ได้เขียนเป็นรูปแบบจดหมายจากพ่อสั่งสอนบุตรชายซึ่งสมมติเป็นนักเรียนคนหนึ่งในโรงเรียน นั่นเป็นงานชิ้นแรกที่เธอเขียนเพื่อผู้อ่านจริง ๆ มิใช่เขียนเพื่อเก็บไว้อ่านแต่เฉพาะตนเองอีกต่อไป
แต่ด้วยความตรากตรำในงานสอนและการเดินทางไกลจากบ้านบางลำพูไปยังโรงเรียนที่สี่พระยาทุกวัน ทำให้สุขภาพของชูวงศ์ทรุดโทรมลงมาก โรคหลอดลมอักเสบเรื้อรังซึ่งเธอเป็นตั้งแต่เด็กกลับมาคุกคามอีก ทำให้ชูวงศ์ต้องตัดสินใจลาออกจากโรงเรียนศิริศาสตร์ โดยตั้งใจจะหยุดพักผ่อนเป็นการชั่วคราว ประจวบกับในระยะนั้นทางโรงเรียนราชินี (บางกระบือ) ขาดครูสอนวิชาภาษาไทย ชูวงศ์ซึ่งเป็นศิษย์เก่าจึงได้เข้าไปสอนในชั้นมัธยมปลายและชั้นเตรียมอุดมศึกษา โดยอยู่ประจำที่โรงเรียนกลับบ้านก็แต่ในวันหยุดเท่านั้นและได้รับทุนสวัสดิการครู “ทูลกระหม่อมฟ้าหญิงวไลยอลงกรณ์” (นายพันเอกหญิง สมเด็จพระราชปิตุจฉา เจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร) อีกด้วย
ตลอดปีพุทธศักราช ๒๔๙๖ ซึ่งชูวงศ์สอนอยู่ที่โรงเรียนราชินี (บางกระบือ) สุขภาพของเธอไม่ดีขึ้น เพราะการสอนที่ใช้เสียงย่อมเป็นปฏิปักษ์กับโรคหลอดลมอักเสบที่กำลังเป็นอยู่แม้ว่าหม่อมเจ้าหญิงทิพย์สุดา เทวกุล ท่านอาจารย์ใหญ่จะทรงมีพระเมตตาประทานไมโครโฟนให้ใช้ในห้องที่สอนเป็นพิเศษแล้วก็ตาม แต่อาการหลอดลมอักเสบก็เพียงแต่ทุเลาเท่านั้นไม่หายขาด
โดยในปีเดียวกันนั้นชูวงศ์ได้รับเลือกจากนักเรียนชั้นเตรียมอักษรศาสตร์ ให้เป็นบรรยเวกษ์ชูวงศ์ได้จัดพิมพ์หนังสือที่ระลึกออกขายเพื่อเก็บเงินบำรุงโรงเรียนและในหนังสือเล่มนั้นมีเรื่องสั้นของชูวงศ์รวมอยู่ด้วย แต่ก็ยังคงเป็นไปในรูปแบบจดหมายถึงเพื่อน ไม่ใช่เรื่องสั้นอย่างที่เรียกว่าเรื่องอ่านเล่นอยู่นั่นเอง
เพราะปัญหาสุขภาพชูวงศ์จึงตัดสินใจลาออกจากโรงเรียนราชินี (บางกระบือ) และเข้าไปทำงานที่กรมชลประทาน ในแผนกสารบรรณ สำนักเลขานุการกรม หลังจากที่ทำงานในกรมชลประธานเป็นเวลาสามปีเต็ม ชูวงศ์ก็แน่ใจว่าการทำงานแบบนั่งโต๊ะนั้นสู้การเป็นครูสอนหนังสือไม่ได้ ด้วยความรักในการสอนและพอใจที่จะได้พบปะพูดคุยกับศิษย์แต่ละรุ่นที่ผ่านเข้ามาในทุก ๆ ปีที่ผ่านไป
ชูวงศ์ยังคงยึดมั่นที่จะได้เป็นนักประพันธ์จริง ๆ กับเขาจึงได้ศึกษาผู้คนมากหน้าหลายตา ศึกษาประวัติชีวิต อุปนิสัยและจริตกิริยาของเพื่อนมนุษย์ให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ ซึ่งการทำงานที่โต๊ะตัวเดียวและพบปะกับเพื่อนร่วมงานชุดเดิม ๆไม่ช่วยให้ความปรารถนาอยากเป็นนักเขียนของชูวงศ์สัมฤทธิ์ผล ด้วยเหตุนี้ในปีพุทธศักราช ๒๔๙๘ ชูวงศ์จึงได้ลาออกจากกรมชลประทานและไปสมัครสอนหนังสือที่โรงเรียนเขมะสิริอนุสสรณ์ โดยสอนวิชาภาษาอังกฤษ ในชั้นเตรียมอักษรศาสตร์ และที่โรงเรียนเขมะสิริอนุสสรณ์นั่นเองที่ชูวงศ์เริ่มชีวิตการเป็นนักเขียนอาชีพโดยแท้จริง
ปีพุทธศักราช ๒๕๐๓ ชูวงศ์ลาออกจากโรงเรียนเขมะสิริอนุสสรณ์และได้ย้ายมาสอนที่วิทยาลัยการศึกษา ซอยประสานมิตร ถนนสุขุมวิท เนื่องจากที่ทำงานแห่งใหม่อยู่ไกลจากปากเกร็ดมาก ชูวงศ์จึงต้องย้ายกลับมายังบ้านของมารดาที่ถนนสามเสนเพื่อความสะดวกในการเดินทางไปทำงานยังถนนสุขุมวิท
ช่วงชีวิตของชูวงศ์ในระยะต่อมาเป็นระยะแห่งงานหนักโดยแท้ โดยต้องทำงานไม่เว้นแต่ละวันจนไม่มีเวลาพักผ่อน นอกจากจะสอนนิสิต วิทยาลัยการศึกษาในเวลากลางวันอันเป็นงานประจำแล้ว ชูวงศ์ยังต้องสอนนักศึกษาภาคค่ำอีกด้วย เมื่อสอนเสร็จยังต้องนั่งกรำอยู่กับโต๊ะเขียนหนังสือไปจนดึกดื่นค่อนคืนทุกวัน เพื่อจะได้ผลิตงานออกมาให้ทันลงพิมพ์ในนิตยสารรายสัปดาห์หลายฉบับในเวลาเดียวกัน
ต่อมาได้ลาออกจากราชการมาประกอบอาชีพนักเขียนเพียงอย่างเดียว ได้เริ่มเขียนเรื่องสั่นหลากหลายเรื่องลงในนิตยสารศรีสยาม และได้ทำงานอื่นเสริมไปด้วย เช่น บริหารโรงเรียนสอนตัดผมและตัดเสื้อดาวรุ่ง เป็นต้น
 
== งานเขียน ==
พุทธศักราช ๒๔๙๖ นามปากกา“เทิดพงษ์” เบิกโรงด้วยเรื่องสั่น “นิตยสาร ศรีสัปดาห์”
จากการที่ ชูวงศ์ ฉายะจินดา ได้เข้าศึกษาที่ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งได้รับการฝึกฝนด้านภาษาและการเขียนภาษาไทย ประกอบกับอุปนิสัยรักการอ่านและการขีดเขียน ทำให้ ชูวงศ์ ฉายะจินดา สนใจในการประพันธ์ งานประพันธ์ของนักเขียนที่มีส่วนช่วยผลักดันด้วยคือ ‘ดอกไม้สด’ (หม่อมหลวงบุปผา นิมมานเหมินท์)
นิตยสารฉบับเดียวที่ทางบ้านของชูวงศ์เป็นสมาชิกอยู่คือ “ศรีสัปดาห์” ซึ่งในช่วงนั้นทางนิตยสารสนับสนุนงานของ ‘นักเขียนหน้าใหม่’ แต่ละสัปดาห์ชูวงศ์จะได้อ่านเรื่องสั้นของน้องใหม่ในวงการประพันธ์อย่างน้อย ๒ เรื่อง ซึ่งเท่ากับเป็นการกระตุ้นความปรารถนาที่จะได้เป็นนักเขียนจริง ๆ มากยิ่งขึ้นทุกที จนกระทั่งวันหนึ่งจึงเริ่มลงมือเขียนเรื่องสั้นเรื่องหนึ่งชื่อ “หนึ่งในห้าร้อยจำพวก” ส่งไปยังนิตยสารศรีสัปดาห์ โดยส่งไปทั้งที่ไม่มีความหวังว่าจะได้ลง แต่แล้วเวลาผ่านไปไม่นานเรื่องสั้นเรื่องแรกได้ลงในนิตยสารศรีสัปดาห์ภายในเดือนนั้นเอง โดยได้รับค่าเรื่อง ๖๐ บาท แม้จะเป็นเงินจำนวนน้อย แต่ก็ทำให้รู้สึกภาคภูมิใจมาก
เมื่อเรื่องสั้นเรื่องแรกได้ลงพิมพ์แทนที่จะลงตระกร้า ชูวงศ์ก็ยิ่งมีกำลังใจโดยได้เขียนเรื่องสั้นเรื่องต่อไปและทุกเรื่องก็ได้ลงตีพิมพ์ เงินค่าเรื่องก็สูงขึ้นเรื่อย ๆ จาก ๖๐ บาทขึ้นไปถึง ๕๕๐ บาท หลังจากนั้นเพียงปีเดียวชูวงศ์ได้รับอนุญาตจากบรรณาธิการศรีสัปดาห์ คือ หม่อมหลวงจิตติ นพวงศ์ ให้ลงมือเขียนเรื่องยาว
 
เมื่อเรียนชั้นมัธยมบริบูรณ์ (เตรียมอักษรศาสตร์) ปีที่ 1 ที่โรงเรียนราชินี เพื่อน ๆ ร่วมชั้นได้จัดทำหนังสือวารสารรายสะดวกขึ้นหนึ่งเล่มมี ประภาศรี นาคะนาท (ภา พรสวรรค์) นักประพันธ์ที่มีชื่อเสียง ซึ่งเป็นน้องสาวของ ประหยัด ศ. นาคะนาท เป็นหัวหน้าจัดทำ ในหนังสือเล่มนั้นมีเรื่องสั้นพร้อมรูปประกอบเรื่องหนึ่งชื่อ ‘กลางละอองทอง’ แต่งโดย ประภาศรี นาคะนาท ทำให้ ชูวงศ์ ฉายะจินดา อ่านอย่างประทับใจจนใฝ่ฝันจะเขียนเช่นนั้นบ้าง
พุทธศักราช ๒๔๙๘ “เทิดพงษ์” เรื่องยาวใน “นิตยสารศรีสัปดาห์”
ก่อนที่ชูวงศ์จะเรื่องเขียนนวนิยายขนาดยาวเรื่องแรก คือ ‘ตำรับรัก’ นั้น ในช่วงแรก ของการเริ่มอาชีพนักเขียน ในวัย ๓๐ ปี ซึ่งได้รับความกรุณาจากท่านบรรณาธิการนิตยสารศรีสัปดาห์ หม่อมหลวงจิตติ นพวงศ์ ชี้แนะและเอาใจช่วยอ่านนวนิยายขนาดสั่นที่ชูวงศ์เขียนทุกเรื่อง นับประมาณได้ ๗๐ กว่าเรื่อง ซึ่งสถานที่นัดพบปรึกษากันก็คือ ‘ตึกอักษรนิติ’ ซึ่งตั้งอยู่ที่บางขุนพรหม อันเป็นที่ทำงานของท่านบรรณาธิการ ซึ่งต่อมาเมื่อสนิทสนมกันมากขึ้นชูวงศ์จึงเรียนท่านว่า ‘คุณแจ๊ด’ ท่านให้คำแนะนำชูวงศ์จึงเริ่มเขียนเรื่องยาวเรื่องแรกในชีวิต คือ “ตำรับรัก” ขนาดยาว ๕๕ ตอน ซึ่งประสบความสำเร็จและได้รับการตอบรับจากนักอ่านจำนวนมากและเป็นที่น่าพอใจ หลังจากนั้นชูวงศ์จึงได้รับโอกาสเขียนเรื่องยาวต่อไปในชื่อเรื่อง “ม่านบังใจ” ภาคปฐม และเรื่อง”หัวใจรัก”เป็นภาคปัจฉิม และเรื่องอื่น ๆ ตามมาอีกมากมาย
 
ต่อมาเมื่อเข้าศึกษาที่คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กุลทรัพย์ รุ่งฤดี (คุณหญิงกุลทรัพย์ เกษแม่นกิจ) ซึ่งเป็นเพื่อนร่วมรุ่นได้ริเริ่มจัดทำวารสารอีก ชูวงศ์ ฉายะจินดา จึงรับหน้าที่เขียนคอลัมน์แบบเสื้อ
พุทธศักราช ๒๔๙๙ ก้าวสู่บัลลังก์ราชินีนวนิยายพาฝันแห่งบรรณพิภพ
จากการที่ชูวงศ์ได้เข้าศึกษาที่คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งได้รับการฝึกฝนด้านภาษาและการเขียน ประกอบกับอุปนิสัยรักการอ่านและการขีดเขียน โดยเริ่มต้นด้วยนวนิยายที่สร้างชื่ออย่างตำรับรัก ในนิตยสารศรีสัปดาห์ ต่อมาจริงได้เริ่มเขียนเรื่องให้กับนิตยสารอื่น ๆ ได้แก่ เดลิเมล์วันจันทร์ สกุลไทยรายสัปดาห์ สตรีสาร ศรีสยาม แม่บ้านการเรือนและแม่ศรีเรือน เป็นต้น นวนิยายเกือบทั้งหมดล้วนแต่เป็นเรื่องรัก ต่อมาเมื่อปีพุทธศักราช ๒๕๐๗ ชูวงศ์ได้เรื่องเรื่องกับนิตยสารสตรีสาร ซึ่งได้รับคำแนะนำจากท่านบรรณาธิการ คุณนิลวรรณ ปิ่นทอง แนะนำให้ชูวงศ์เขียนเรื่องหนัก ๆ ดูบ้าง ชูวงศ์จึงเริ่มเขียนเรื่องหนัก ๆ แต่ก็ยังมีเค้าโคลงของเรื่องรัก ๆ แทรกอยู่ในเนื้อหาหนัก ๆ นั้น ได้แก่ ลาก่อนเมล์เบิร์น (รวมเล่มในชื่อ เถาว์วัลย์พันรัก) ซึ่งได้รับความนิยมจากผู้อ่านเป็นอย่างมาก ต่อมาจึงเขียนเรื่องดาวประดับใจ และเสี้ยนชีวิต และระหว่างปีพุทธศักราช ๒๕๔๖ - ๒๕๔๗ ชูวงศ์ได้กลับมาเขียนเรื่องหนัก ๆ อีกครั้ง เกี่ยวกับยาเสพติดและการค้ามนุนย์ในเรื่อง ‘สร้อยเสน่ห์ เล่ห์พิศวาส’ ลงตีพิมพ์เป็นตอน ๆ ในนิตยสารพลอยแกมเพชร รายปักษ์
ชูวงศ์มีหลักในการเขียนหนังสือว่า เขียนเพื่อเสริมพุทธวัจนะ ‘ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว’ และในฐานะนักเขียน อยากจะทำงานที่สามารถสร้างความกลมเกลียวให้แก่คนในชาติได้อย่างจริงจัง หวังว่าตัวอักษรจะช่วยสร้างความเห็นอกเห็นใจระหว่างคนในสังคม มิใช่ใจแคบคิดถึงแต่ตัวเอง
นอกจากเรื่องหนัก ๆ ซึ่งมีเพียงไม่กี่เรื่องแล้ว ชูวงศ์ยังได้ทดลองเขียนเรื่องเร้นลับใช้วรรคดีและความเชื่อประจำท้องถิ่นมาเขียนเป็นเรื่องเร้นลับแต่ก็ยังคงแฝงไว้ได้เรื่องรัก ๆ หวาน ๆ ตามสไตล์ ได้แก่ มณีมรณะ เป็นเรื่องราวความเชื่อในตำนานของภาคเหนือ , พระจันทร์แดง เป็นเรื่องราวความเชื่อทางจันทรคติ , แรงอาถรรพณ์ (อสรพิษดำ) เป็นเรื่องราวคติความเชื่อในตำนานของภาคใต้และบุหลันอาเพศ (ดอนโขมด) มาจากละครนอกที่มีมาตั้งแต่สมัยอยุธยา เรื่องพิกุลทอง ซึ่ง ๕ เรื่องได้รับเสียงตอบรับจากแฟนนักอ่าน
จากนั้นมาชื่อของ ชูวงศ์โด่งดังก้องฟ้าในยุควรรณกรรม ‘พาฝัน’ มีผู้อ่านติดตามนวนิยายของเธอมากมายในฐานะ ‘ราชินีนวนิยายพาฝัน’ ตลอดมาจนถึงปัจจุบัน มีผลงานที่ได้รับความนิยมมากมาย
 
ปีพุทธศักราช 2495 เมื่อเข้ารับราชการครูที่โรงเรียนศิริศาสตร์ ทางโรงเรียนจัดทำหนังสือที่ระลึกแจกในงานประจำปี ให้ครูทุกคนเขียนเรื่องมาลง ชูวงศ์ ฉายะจินดา จึงเขียนเรื่องแบบจดหมายเทศนาโวหารพ่อสั่งสอนลูกชาย ถือได้ว่าเป็นงานเขียนชิ้นแรก ต่อมาได้เขียนเรื่องทำนองนี้อีกลงในหนังสือที่ระลึกโรงเรียนราชินี
เริ่มกับเวทีนิตยสารสกุลไทย รายสัปดาห์
ชูวงศ์หยุดเขียนนวนิยายไปนานตั้งแต่ปีพุทธศักราช ๒๕๒๑ เมื่อเดินทางไปพำนักที่นครเมล์เบิร์น ประเทศออสเตรเลีย ทำให้พักงานเขียนเป็นเวลา ๒๐ ปี จนกระทั่งปีพุทธศักราช ๒๕๔๐ เธอได้กลับเข้าสู่วงวรรณกรรมอีกครั้งตามคำชักชวนของสุภัทร สวัสดิรักษ์ บรรณาธิการอาวุโสนิตยสาร สกุลไทย รายสัปดาห์
 
ปีพุทธศักราช 2500 ขณะเป็นครูอยู่ที่โรงเรียนเขมะสิริอนุสสรณ์ ได้เขียนเรื่องสั้นส่งไปให้นิตยสาร ‘ศรีสัปดาห์’ ได้ลงพิมพ์ในเวลาต่อมา เรื่องสั้นนั้นชื่อเรื่อง ‘หนึ่งในห้าร้อยจำพวก’ และเริ่มเขียนนวนิยายขนาดยาวเรื่องแรกคือ ‘ตำรับรัก’ ขนาด 55 ตอน โดยใช้นามปากกาว่า ‘เทิดพงษ์’
ชูวงศ์กล่าวว่า การที่กลับมาเขียนนวนิยายอีกครั้ง ด้วยเหตุผลเดียวคือ เกิดมาเป็นคนไทย นับถือศาสนาพุทธและอายุสูงปูนนี้ จึงขอฝากข้อคิดบางประการผ่านงานของตนเองเพื่อให้คนรุ่นใหม่ในสังคมจะได้ไม่ลืมหลักธรรมเก่า ๆ โดยใช้นวนิยายที่ให้ทั้งความบันเทิงและข้อคิดเป็นสื่อกลางในการถ่ายทอดประสบการณ์และบอกเล่าเรื่องราวต่าง ๆ ผ่านมุมมองของผู้หญิงที่ผ่านประสบการณ์ชีวิตมาคนหนึ่ง โดยเริ่มเขียนนวนิยายเรื่อง เกษสรหน่ายแมลง หลังจากนั้นได้มีผลงานนวนิยายตามมาอีก ๒๐ เรื่อง และได้หยุดงานเขียนนวนิยายของตนเองลงในเรื่องลำดับที่ ๑๑๑ ด้วยเรื่อง “หนึ่งรักนิรันดร”
 
นับแต่นั้นมา ชูวงศ์ ฉายะจินดา ก็ได้กลายเป็นนักเขียนอย่างเต็มตัวจนถึงปัจจุบันมีผลงานนวนิยาย เรื่องยาว เรื่องสั้น นับร้อยเรื่อง โดยมีหลักในการเขียนหนังสือว่า เขียนเพื่อเสริมพุทธวัจนะ ‘ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว’ และในฐานะนักเขียน อยากจะทำงานที่สามารถสร้างความกลมเกลียวให้แก่คนในชาติได้อย่างจริงจัง หวังว่าตัวหนังสือที่ตัวอักษรจะช่วยสร้างความเห็นอกเห็นใจระหว่างคนในสังคม มิใช่ใจแคบคิดถึงแต่ตัวเอง
เรื่องสั้น
ในช่วงแรกเริ่มจากการหัดเขียนเรียงความ ต่อมาจึงฝึกเขียนเรื่องสั้นไว้อ่านกันเองเฉพาะกลุ่ม เรื่องสั้นเรื่องแรกที่เขียนและได้ลงตีพิมพ์ในนิตยสารศรีสัปดาห์ คือ หนึ่งในห้าร้อยจำพวก จากนั้นจึงมีเรื่องสั้นตามมาอีกว่า ๗๐ เรื่อง ซึ่งเรื่องสั้นทุกเรื่องได้ลงตีพิมพ์ในนิตยสารศรีสัปดาห์
ต่อในปีพุทธศักราช ๒๕๔๕ ได้เขียนเรื่องสั้นชื่อ ‘เหตุเกิดเมื่อวันแม่’ ตีพิมพ์ลงในหนังสือรวมเรื่องสั้นนักเขียนนวนิยายปากกาทอง ในนิตยสาร สกุลไทย รายสัปดาห์ เพชรสีน้ำเงิน ชุด ๑ ร่วมกับเพื่อนนักเขียน
ปีพุทธศักราช ๒๕๕๐ ได้เขียนเรื่องสั้นชื่อ ‘กรรมใดใครก่อ’ , ‘ป้าเกลือปากพระร่วง’ , ‘มือที่สาม’ , ‘เจ้าขุนทองน้องเบริ์ท’ , ‘คู่กัด’ , ‘รักโกลาหลคนโลกาภิวัฒน์’ , ‘อันความกรุณาปราณี’ , ‘ติดอ่าง-ตกทอ’ง และ ‘เสน่าปลายจวัก’
ปีพุทธศักราช ๒๕๕๒ มีผลงานรวมเรื่องสั้นชื่อชุด ‘กรวดต่างสี’
ปีพุทธศักราช ๒๕๕๓ มีผลงานรวมเรื่องสั้นชื่อชุด ‘ภาพแห่งความทรงจำ’ รวมเรื่องสั้นที่ครบวงจรของครู ร่วมกับเพื่อนนักเขียน
ปีพุทธศักราช ๒๕๕๓ ได้เขียนเรื่องสั้นชื่อ ‘บทส่งท้ายจำเลยรัก’ และ ‘จากตำรับรักถึงหนึ่งรักนิรันดร์’
 
งานเขียนของ ชูวงศ์ ฉายะจินดา จำนวนมากได้ถูกสร้างเป็นละครวิทยุ ละคร และภาพยนตร์
งานแปล
นอกจากเขียนเรื่องสั้นและนวนิยายแล้ว ชูวงศ์ยังชอบอ่านวรรณกรรมต่างประเทศ เธอจึงได้รับแรงบันดาลใจจากการอ่านวรรณกรรมสั้น ๆ ของต่างประเทศ
ในปีพุทธศักราช ๒๕๒๒โดยเริ่มแปลวรรณกรรมของ O . HENRY เรื่อง THE DIAMOND OF KALI ในชื่อว่า เพชรของเจ้าแม่กาลีและแปลเรื่องสั้นของ WILLIAM HOPE HODGESON เรื่อง THE VOICE IN THE NIGHT โดยใช้ชื่อว่า เห็ดมฤตยู
 
== ผลงานเรื่องสั้น ==
สารคดีเชิงท่องเที่ยว
ตั้งแต่ชั้นมัธยมต้น ชูวงศ์ ฉายะจินดา สนใจวิชาเกี่ยวกับภาษาไทย โดยเฉพาะวิชาการเขียนเป็นพิเศษ ในช่วงแรกเริ่มจากการหัดเขียนเรียงความ ต่อมาจึงฝึกเขียนเรื่องสั้นไว้อ่านกันเองเฉพาะกลุ่ม เรื่องสั้นเรื่องแรกที่เขียนและได้ลงตีพิมพ์ในนิตยสาร ‘ศรีสัปดาห์’ คือ ‘หนึ่งในห้าร้อยจำพวก’
เมื่อเดินทางท่องเที่ยวอยู่บ่อยครั้ง จึงเกิดแรงบันดาลใจให้เขียนสารคดีเชิงท่องเที่ยวบอกเล่าเรื่องราวที่พบเห็นระหว่างเดินทาง ได้แก่
๑. ฉันรักสแกนดิเนเวีย เป็นสารคดีเชิงท่องเที่ยวเรื่องแรกเมื่อได้รับเชิญเป็นตัวแทนนักเขียนสตรีไปร่วมศึกษาดูงานและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นที่ประเทศในกลุ่มสแกนดิเนเวีย ได้แก่ เดนมาร์ก นอร์เวย์ สวีเดน และฟินแลนด์ (พิมพ์รวมเล่มโดยสำนักพิมพ์คลังวิทยา พุทธศักราช ๒๕๑๐)
๒. ดินแดนแห่งความสงบยามเช้า เมื่อครั้งได้รับเชิญเป็นตัวแทนนักเขียนสตรีไปร่วมศึกษาดูงานที่สาธารณรัฐเกาหลีใต้ ร่วมกับเพื่อนนักเขียน คือ สุภัทร สวัสดิรักษ์ , อมราวดี , สุภาว์ เทวกุล ฯ และสุวรรณี สุคนธา ตีพิมพ์เป็นตอน ๆ ในนิตยสารสกุลไทย รายสัปดาห์ ประมาณปีพุทธศักราช ๒๕๑๓ ได้รับรางวัลชมเชยในงานสัปดาห์หนังสือแห่งชาติ ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๑๕ จากคณะกรรมการหนังสือแห่งชาติ และกระทรวงการต่างประเทศเกาหลี โดยสถานเอกอัครราชทูตยกย่องให้เป็นวรรณกรรมเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างไทย - เกาหลี พร้อมจัดซื้อหนังสือจำนวนหนึ่งมอบแก่ห้องสมุดมหาวิทยาลัยเกาหลีที่สอนภาษาไทย (พิมพ์โดยกรุงสยามการพิมพ์ พุทธศักราช ๒๕๑๕)
๓. โรมันรัญจวน เป็นสารคดีเชิงท่องเที่ยว โดยเขียนร่วมกับเพื่อนนักเขียน คือ สุภัทร สวัสดิรักษ์ , อมราวดี , สุภาว์ เทวกุล ฯ , ทมยันตี , เพ็ญแข วงศ์สง่า , บุษปะเกศ , ‘เศก ดุสิต’ , ถาวร สุวรรณ และณรงค์ จันทร์เรือง ตีพิมพ์เป็นตอน ๆ ในนิตยสาร ‘สกุลไทย’ รายสัปดาห์ ประมาณปีพุทธศักราช ๒๕๑๔ - ๒๕๑๕
 
จากนั้นจึงมีเรื่องสั้นตามมาอีกว่า 58 เรื่อง ซึ่งเรื่องสั้นทุกเรื่องได้ลงตีพิมพ์ในนิตยสาร ‘ศรีสัปดาห์’ ในระหว่างปีพุทธศักราช 2495 - 2500
ผลงานทางวิชาการ
ในระหว่างที่ศึกษาอยู่ที่เมืองเมลเบอร์น ประเทศออสเตรเลีย ชูวงศ์ได้เขียนบทความทางวิชาการให้สถานีวิทยุภาคภาษาไทยออกอากาศที่สถานีวิทยุออสเตรเลีย ๓ เรื่อง ได้แก่
๑. วัฒนธรรมการแต่งกายของสตรีชาวเมืองเมลเบอร์น ประเทศออสเตรเลีย (The Cultural Dress Costume of the Woman in Melbourne , Australia .)
๒. วัฒนธรรมการใช้ชีวิตของนิสิตในมหาวิทยาลัยเมลเบอร์น ประเทศออสเตรเลีย (The Cultural Lives of Students in the University of Melbourne , Australia .)
๓. ทางสายเกียรติยศ (The Avenue of Honour)
นอกจากนี้ยังได้ให้สัมภาษณ์ให้กับผู้แทนหนังสือ Herald ซึ่งเป็นหนังสือพิมพ์ขนาดใหญ่และมีสถิติการพิมพ์แพร่หลายที่สุดฉบับหนึ่งในประเทศออสเตรเลีย โดยเรื่องราวที่สัมภาษณ์เกี่ยวกับชีวิตการประพันธ์
ครอบครัว
เมื่อครั้งเข้ารับราชการที่กรมชลประทาน ในแผนกสารบรรณ สำนักเลขานุการกรม ได้พบรักกับวิศวกรหนุ่มแผนกเกษตรชลประทาน กรมชลประทานชื่อ สุรีย์ สอนสมบูรณ์ ซึ่งเพิ่งกลับจากศึกษาที่เมืองเดนเวอร์ รัฐโคโลราโด ประเทศสหรัฐอเมิรกา และได้สมรสกันในวันที่ ๑๖ เมษายน พุทธศักราช ๒๔๙๙ เมื่อชูวงศ์อายุได้ ๒๕ ปี และสามีนายสุรีย์ อายุ ๓๐ ปีเต็ม หลังสมรสแล้วได้ย้ายไปอยู่ที่บ้านพักข้าราชการในกรมชลประทาน ปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี
ในปีพุทธศักราช ๒๕๐๔ ชูวงศ์ได้ให้กำเนิดบุตรชายคนแรกและคนเดียว สมเด็จพระสังฆราช (พระพุทธโฆษาจารย์) ประทานนามว่า ‘โชติรส’
ปัจจุบันชูวงศ์ได้วางปากกาจากเวทีนักเขียน มีผลงานนวนิยาย ๑๑๑ เรื่องเรื่องสั้นประมาณ ๗๐ เรื่อง เรื่องแปล ๒ เรื่อง สารคดี ๓ เรื่อง บทความทางวิชาการ ๓ เรื่อง ใช้ชีวิตบนเส้นทางนักประพันธ์มายาวนานถึง ๖๐ ปี ในปีพุทธศักราช ๒๕๕๓ ชูวงศ์ ฉายะจินดา ได้รับรางวัลนราธิป
 
ปีพุทธศักราช 2545 ได้เขียนเรื่องสั้นชื่อ ‘เหตุเกิดเมื่อวันแม่’ ตีพิมพ์ลงในหนังสือรวมเรื่องสั้นนักเขียนนวนิยายปากกาทอง ในนิตยสาร ‘สกุลไทย’ รายสัปดาห์ ‘เพชรสีน้ำเงิน’ ชุด 1
 
ปีพุทธศักราช 2550 ได้เขียนเรื่องสั้นชื่อ กรรมใดใครก่อ , ป้าเกลือปากพระร่วง , มือที่สาม เจ้าขุนทองน้องเบริ์ท , คู่กัด , รักโกลาหลคนโลกาภิวัฒน์ , อันความกรุณาปราณี , ติดอ่าง-ตกทอง และ เสน่าปลายจวัก
 
== งานแปล ==
นอกจากเขียนเรื่องของเธอแล้ว ชูวงศ์ ฉายะจินดา ยังชอบอ่านวรรณกรรมต่างประเทศ เธอจึงได้รับแรงบันดาลใจจากการอ่านวรรณกรรมของ O . HENRY เรื่อง THE DIAMOND OF KALI เธอจึงแปลและเรียบเรียงขึ้นโดยใช้ชื่อว่า ‘เพชรของเจ้าแม่กาลี’
 
WILLIAM HOPE HODGESON เรื่อง THE VOKE IN THE NIGHT แปลและเรียบเรียงขึ้นโดยใช้ชื่อว่า ‘เห็ดมฤตยู’
บรรณานุกรม
 
== ผลงานสารคดีเชิงท่องเที่ยว ==
กองบรรณาธิการ . (๒๕๕๒, พฤศจิกายน) . สุดที่ใจรัก : จากใจถึงใจชูวงศ์ ฉายะจินดา . สกุลไทย ,
ชูวงศ์ ฉายะจินดา มักจะเดินทางท่องเที่ยวอยู่บ่อยครั้ง จึงเกิดแรงบันดาลใจให้เขียนสารคดีเชิงท่องเที่ยวบอกเล่าเรื่องราวออกมาเป็นตัวอักษรในสิ่งที่พบเห็นระหว่างเดินทาง ได้แก่
๒๘๗๒ . ๖๒ – ๖๓ .
 
กองวรรณคดีและประวัติศาสตร์ กรมศิลปกร .(๒๕๒๗) . ประวัตินักเขียนไทย . กรุงเทพมหานคร ฯ
ฉันรักสแกนดิเนเวีย เป็นสารคดีเชิงท่องเที่ยวเรื่องแรกเมื่อได้รับเชิญเป็นตัวแทนนักเขียนสตรีไปร่วมศึกษาดูงานและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นที่ประเทศในกลุ่มสแกนดิเนเวีย ได้แก่ เดนมาร์ก นอร์เวย์ สวีเดน และฟินแลนด์
. สำนักพิมพ์ศิลปาบรรณาคาร . (พิมพ์ครั้งที่ ๖) .กรุงเทพมหานคร ฯ .
 
จารุภรณ์ . (๒๕๔๑ , กุมภาพันธ์) .พบนักเขียน : ด้วยความเป็นไทยของชูวงศ์ ฉายะจินดา .ศรีสยาม ,
ลาก่อนเมลเบิร์น เป็นสารคดีเชิงท่องเที่ยวเมื่อครั้งเดินทางไปศึกษาต่อที่ประเทศออสเตรเลีย บอกเล่าเรื่องราวของชีวิตนักศึกษาและสถานที่ท่องเที่ยวที่สำคัญ
๔๙ . ๖๔ – ๖๕ .
 
ชุติมา ศรีทอง . (๒๕๕๑ , กุมภาพันธ์) . เปิดใจสนทนา : ชูวงศ์ ฉายะจินดา เจ้าตำรับนวนิยายตบจูบ
ดินแดนแห่งความสงบยามเช้า เมื่อครั้งได้รับเชิญเป็นตัวแทนนักเขียนสตรีไปร่วมศึกษาดูงานที่ประเทศเกาหลี ร่วมกับเพื่อนนักเขียน คือ สุภัทร สวัสดิรักษ์ , อมราวดี (ลัดดา ถนัดหัตถกรรม) , สุภาว์ เทวกุล ฯ และสุวรรณี สุคนธา
จำเลยรัก . ขวัญเรือน , ๘๗๐ . ๑๘๔ – ๑๙๕ .
 
เต็มสิริ. (๒๕๔๖, มิถุนายน) . ๑๗๐ เปิดใจ :หัวใจไร้อาณาเขตของชูวงศ์ ฉายะจินดา. เปรียว , ๕๐๓ .
ตีพิมพ์เป็นตอน ๆ ในนิตยสาร ‘สกุลไทย’ รายสัปดาห์ ประมาณปีพุทธศักราช 2513 ได้รับรางวัลชมเชยในการประกวดหนังสือในงานสัปดาห์หนังสือแห่งชาติ ประจำปีพุทธศักราช 2515 จากคณะกรรมการหนังสือแห่งชาติ และกระทรวงการต่างประเทศเกาหลี โดยสถานเอกอัครราชทูตยกย่องให้เป็นวรรณกรรมเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างไทย - เกาหลี พร้อมจัดซื้อหนังสือจำนวนหนึ่งมอบแก่ห้องสมุดมหาวิทยาลัยเกาหลีที่สอนภาษาไทย
๑๖๙ – ๑๘๓ .
 
ไพลิน รุ้งรัตน์ . (๒๕๓๘, ตุลาคม) . นักเขียนยอดนิยมในสกุลไทยสมัยหนึ่ง : ชูวงศ์ ฉายะจินดา
โรมันรัญจวน เป็นสารคดีเชิงท่องเที่ยว โดยเขียนร่วมกับเพื่อนนักเขียน คือ สุภัทร สวัสดิรักษ์ , อมราวดี (ลัดดา ถนัดหัตถกรรม) , สุภาว์ เทวกุล ฯ , ทมยันตี , เพ็ญแข วงศ์สง่า , บุษปะเกศ , ‘เศก ดุสิต’ , ถาวร สุวรรณ และณรงค์ จันทร์เรือง ตีพิมพ์เป็นตอน ๆ ในนิตยสาร ‘สกุลไทย’ รายสัปดาห์ ประมาณปีพุทธศักราช 2514 - 2515
จากกรุงเทพ ฯ ถึงออสเตรเลีย . สกุลไทย , ๒๑๔๑ . ๓๔ – ๓๖ และ ๑๑๓ .
 
ไพลิน รุ้งรัตน์ . (๒๕๔๑, ตุลาคม) . เมื่อนักวิจารย์เขียนถึงนักเขียนนวนิยาย : ชูวงศ์ ฉายะจินดา
== ผลงานนวนิยาย ==
ครั้งหนึ่งเธอเคยเป็นราชินีโลกพาฝัน . สกุลไทย , ๒๒๙๕ . ๗๒ – ๗๖ และ ๑๑๒ .
ชูวงศ์ ฉายะจินดา เริ่มเขียนนวนิยายเมื่ออายุประมาณ 30 เมื่อนิตยสาร ‘ศรีสัปดาห์’ ได้เปิดสนามให้นักเขียนใหม่ได้ประลองฝีมือโดยได้รับการสนับสนุนจาก หม่อมหลวงจิตติ นพวงศ์ บรรณาธิการนิตยสาร ‘ศรีสัปดาห์’
ไพลิน รุ้งรัตน์ . (๒๕๔๑ , มกราคม) . สัมภาษณ์พิเศษ : ต้อนรับการกลับมาของชูวงศ์ ฉายะจินดา .
 
สกุลไทย , ๒๒๕๘ . ๓๔ – ๓๖ และ ๖๙ .
นวนิยายเรื่องแรกซึ่งเกิดจากแรงบันดาลใจจากการอ่านงานประพันธ์ของ ‘ดอกไม้สด’ คือ ‘ตำรับรัก’ (LOVE LESSON) ขนาดยาว 55 ตอน เมื่อประมาณปีพุทธศักราช 2500 ทำให้ชื่อของ ชูวงศ์ ฉายะจินดา เป็นที่รู้จักของนักอ่านโดยทั่วไป
ไพลิน รุ้งรัตน์ . (๒๕๔๓) . ปากไก่ลายทอง รวมสัมภาษณ์และประวัติ ๑๕ นักเขียนชื่อดังแห่ง
 
ยุค . กรุงเทพมหานคร ฯ . สำนักพิมพ์ดับเบิ้ลนายน์ .
เรื่องต่อมา คือ ‘ม่านบังใจ’ ลงตีพิมพ์เป็นตอน ๆ ในนิตยสาร ‘ศรีสัปดาห์’ เมื่อประมาณปีพุทธศักราช 2502 - 2504
รตชา . (๒๕๔๗ , พฤษภาคม) เขียนนวนิยาย : มาถึงบทอวสาร ... ปิดม่านนิยาย (๑) . ขวัญเรือน ,
 
๗๘๐ . ๔๐๑ – ๔๐๖ .
จากเวทีนิตยสาร ‘ศรีสัปดาห์’ ชูวงศ์ ฉายะจินดา ก้าวไปสู่นิตยสารอื่น ๆ อีก
มุติ . (๒๕๔๐ , กุมภาพันธ์) . สัมภาษณ์พิเศษ : ชูวงศ์ ฉายะจินดา กับวันเวลาในต่างแดน . ศรีสยาม ,
 
๑๐ . ๑๘ – ๒๐ .
สกุลไทย รายสัปดาห์ เช่น กำแพงเงินตรา (ระหว่างปีพุทธศักราช 2511 - 2512) , จันทร์ไร้แสง (ระหว่างปีพุทธศักราช 2512 - 2513) , พระเอกในความมืด (ระหว่างปีพุทธศักราช 2516 - 2517) , ชีวิตผวา (ระหว่างปีพุทธศักราช 2520 - 2521) เป็นต้น
ไม่ปรากฎผู้เขียน . (๒๕๔๒ , พฤศจิกายน) . ฝากถ้อย – ฝากคำ : ๕๐ ปี กันตนา . พลอยแกมเพชร ,
 
๑๘๗ . ๑๙๐ – ๑๙๘ .
เดลิเมล์วันจันทร์ เช่น จำเลยรัก (ระหว่างปีพุทธศักราช 2504 - 2405) , ผู้หญิงมือสอง ,ไพรพิศวาส (ระหว่างปีพุทธศักราช 2521 - 2522) สุดสายป่าน (ระหว่างปีพุทธศักราช 2521 - 2522) หลังจากได้รับการตอบรับอย่างสูงจากผู้อ่านเรื่อง ‘ม่านบังใจ’ จนทำให้มีภาคสมบูรณ์ของเรื่องคือ ‘หัวใจรัก’ (ระหว่างปีพุทธศักราช 2504 - 2505) เป็นต้น
สุภัทร สวัสดิรักษ์ . (2545) . เพชรสีน้ำเงิน รวมเรื่องสั้นนักเขียนนวนิยายปากกาทองในนิตยสาร
 
สกุลไทย รายสัปดาห์ . กรุงเทพมหานคร ฯ . สำนักพิมพ์เพื่อนดี . ๔๑ – ๔๕ .
สตรีสาร ได้แก่ เสี้ยนชีวิต (ในปีพุทธศักราช 2514)
ศรัณยา . (๒๕๕๓) . .สัมภาษณ์พิเศษ : หวานล้ำจากห้วงใจสู่ปลายปากกา ชูวงศ์ ฉายะจินดา
 
สกุลไทย , ๒๘๙๙ . ๓๗ – ๔๑ และ ๔๖ .
แม่ศรีเรือน ได้แก่ ในมือมาร (ในปีพุทธศักราช 2504) , อสรพิษดำ (ในปีพุทธศักราช 2516) เป็นต้น
ศรัณยา . (๒๕๕๓) . สัมภาษณ์พิเศษ : หวานล้ำจากห้วงใจสู่ปลายปากกา ชูวงศ์ ฉายะจินดา.
 
สกุลไทย , ๒๘๙๙ . ๓๗ – ๔๑ และ ๔๖ .
นอกจากนี้ยังเขียนให้กับนิตยาสารอื่น ๆ เช่น ลลนา , ขวัญดาว , ศรีสยาม เป็นต้น
ศรัณยา . (๒๕๕๓) . สัมภาษณ์พิเศษ : หวานล้ำจากห้วงใจสู่ปลายปากกา ชูวงศ์ ฉายะจินดา.
 
สกุลไทย , ๒๙๐๐ . ๓๘ – ๔๑ .
มีผลงานเป็นที่นิยมแพร่หลายมากมาย เช่น ‘จำเลยรัก’ ที่โด่งดัง (ถูกสร้างเป็นภาพยนตร์ 2 ครั้ง ละคร 5 ครั้ง) , ‘สุดสายป่าน’ (ถูกสร้างเป็นภาพยนตร์ 1 ครั้ง ละคร 2 ครั้ง) , ‘ตำรับรัก’ (ถูกสร้างเป็นละคร 3 ครั้ง) , ‘พระเอกในความมืด’ (ถูกสร้างเป็นละคร 3 ครั้ง) , ‘เงาอโศก’ (ถูกสร้างเป็นละคร 2 ครั้ง) , ‘ฝันเฟื่อง’ (ถูกสร้างเป็นละคร 2 ครั้ง) , กำแพงเงินตรา (ถูกสร้างเป็นภาพยนตร์ 1 ครั้ง) , ‘เงาใจ’ (ถูกสร้างเป็นละคร 2 ครั้ง) ฯลฯ
พจมาน พงษ์ไพบูรณ์ . (๒๕๕๓) . จำเลยรัก ชูวงศ์ ฉายะจินดา ความในใจจากผู้เขียน ... สู่ผู้อ่าน.
 
สกุลไทย , ๒๙๐๐ . ๔๑ .
จากนั้นมาชื่อของ ชูวงศ์ ฉายะจินดา โด่งดังก้องฟ้าในยุควรรณกรรม ‘พาฝัน’ มีผู้อ่านติดนวนิยายของเธอมากมายในฐานะ ‘ราชินีนวนิยายพาฝัน’ ตลอดมาจนถึงปัจจุบัน
รินคำ . (๒๕๕๑) . คุยกับนักประพันธ์อาวุโส ชูวงศ์ ฉายะจินดา. ออล แม็กกาซีน , ปีที่ ๓ ฉบับที่
 
๑. ๔๐ – ๔๓ .
ชูวงศ์ ฉายะจินดา หยุดเขียนนวนิยายไปยาวนาน นับตั้งแต่ปีพุทธศักราช 2521 เมื่อเดินทางไปพำนัก ณ นครเมลเบริร์น ประเทศออสเตรเลีย ทิ้งผลงานให้ผู้อ่านตามรอยไว้เกือบ 70 เล่ม ซึ่งนับเวลาเธอหายไปจากงานเขียนเป็นเวลา 20 ปี จนกระทั่งปีพุทธศักราช 2540 เธอได้กลับเข้าสู่วงวรรณกรรมอีกครั้งตามคำชักชวนของสุภัทร สวัสดิ์รักษ์ อดีตบรรณาธิการอาวุโสนิตยสาร ‘สกุลไทย’ รายสัปดาห์ เริ่มเขียนนวนิยายดังนี้
ป. วัชราภรณ์ . (๒๕๐๖) . ทำเนียบนักประพันธ์ : อิทธิพลของนักประพันธ์ในทรรศนะของ ชูวงศ์
 
ฉายะจินดา ผดุงศึกษา , ๔๙ – ๕๙.
* เกษรหน่ายแมลง ลงตีพิมพ์เป็นตอน ๆ ในนิตยสาร ‘สกุลไทย’ รายสัปดาห์ ระหว่างปีพุทธศักราช 2541 - 2542
พิมาลา . (๒๕๕๓) . ๘๐ ปี ชูวงศ์ ฉายะจินดา : บนเส้นทางสายเสน่หากับนวนิยายพาฝัน . หญิงไทย
* ฆาตกรกามเทพ ลงตีพิมพ์เป็นตอน ๆ ในนิตยสาร ‘สกุลไทย’ รายสัปดาห์ ในปีพุทธศักราช 2543
. ปีที่ ๕๓ ฉบับที่ ๘๓๑ . ๑๒๔ – ๑๒๕ , ๑๒๙ – ๑๓๒.
* พี. อาร์. หมายเลขหนึ่ง ลงตีพิมพ์เป็นตอน ๆ ในนิตยสาร ‘สกุลไทย’ รายสัปดาห์ ในปีพุทธศักราช 2543
ช่อปาริชาติ . (๒๕๕๓) . ๘๐ ปี ชูวงศ์ ฉายะจินดา . ไทยโพสต์ . ฉบับวันที่ ๘ เมษายน ๒๕๕๓ .
* ก็ว่าจะไม่รัก พิมพ์ร่วมเล่มโดยสำนักพิมพ์ดับเบิ้ลนายน์ ในปีพุทธศักราช 2544
พรชัย จันทโสก . (๒๕๕๓) . ชูวงศ์ ฉายะจินดา กับวันอำลานักเขียน . กรุงเทพธุรกิจ .
* ฟ้ามีตะวัน หัวใจฉันมีเธอ ลงตีพิมพ์เป็นตอน ๆ ในนิตยสาร ‘สกุลไทย’ รายสัปดาห์ ระหว่างปีพุทธศักราช 2544 - 2545
ฉบับวันที่ ๒๙ มีนาคม ๒๕๕๓
* ปล. ด้วยรักและเข้าใจ ลงตีพิมพ์เป็นตอน ๆ ในนิตยสาร ‘ชีวิตจริง’ ระหว่างปีพุทธศักราช 2544 - 2545
หนอนหนังสือ . (๒๕๕๓) . ชูวงศ์ ฉายะจินดา ตัดสินใจวางปากกาอำลาวงการน้ำหมึก . บ้าน
* สวรรค์ชั้นนี้มีแต่รัก ลงตีพิมพ์เป็นตอน ๆ ในนิตยสาร ‘เรื่องผู้หญิง’ ระหว่างปีพุทธศักราช 2544 - 2545
บรรณารักษ์ .ประจำวันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๕๓
* ชีวิตนี้มีไว้ให้เธอ ลงตีพิมพ์เป็นตอน ๆ ในนิตยสาร ‘สกุลไทย’ รายสัปดาห์ ระหว่างปีพุทธศักราช 2545 - 2546
รวมหัวใจไทยทั้งชาติ . (๒๕๕๓) . วันรู้ใจ . สกุลไทย , ๒๙๒๔ . ๒๔ .
* เหมือนเราจะรักกันไม่ได้ (TRAGEDY MOST LIKELY) ลงตีพิมพ์เป็นตอน ๆ ในนิตยสาร ‘สกุลไทย’ รายสัปดาห์ ระหว่างปีพุทธศักราช 2546 - 2547
* เสี่ยงล่วง เสี่ยงรัก ลงตีพิมพ์เป็นตอน ๆ ในนิตยสาร ‘สกุลไทย’ รายสัปดาห์ ระหว่างปีพุทธศักราช 2547 - 2548
* สร้อยเสน่ห์ เล่ห์พิศวาส ลงตีพิมพ์เป็นตอน ๆ ในนิตยสาร ‘พลอยแกมเพชร’ รายปักษ์ ระหว่างปีพุทธศักราช 2546 - 2547
* ดอกรักกลางพงหนาม ลงตีพิมพ์เป็นตอน ๆ ในนิตยสาร ‘ที. วี อินไซด์’ ระหว่างปีพุทธศักราช 2546 - 2547
* บุพเพสลับรัก ลงตีพิมพ์เป็นตอน ๆ ในนิตยสาร ‘หญิงไทย’ รายปักษ์ ระหว่างปีพุทธศักราช 2547 - 2549
* ปีกเปล่า ลงตีพิมพ์เป็นตอน ๆ ในนิตยสาร ‘สกุลไทย’ รายสัปดาห์ ในปีพุทธศักราช 2549
* เล่ห์มยุรา ลงตีพิมพ์เป็นตอน ๆ ในนิตยสาร ‘หญิงไทย’ รายปักษ์ ระหว่างปีพุทธศักราช 2549 - 2550
* ลมหวนในสวนรัก ลงตีพิมพ์เป็นตอน ๆ ในนิตยสาร ‘สกุลไทย’ รายสัปดาห์ ในปีพุทธศักราช 2550
* ผีเสื้อสลับราย ลงตีพิมพ์เป็นตอน ๆ ในนิตยสาร ‘หญิงไทย’ รายปักษ์ ระหว่างปีพุทธศักราช 2550 - 2551
* เหมือนจะรู้อยู่ในเล่ห์เสน่หา เขียนขึ้นในปีพุทธศักราช 2550
* ดั่งด้ายสร้างสม ลงตีพิมพ์เป็นตอน ๆ ในนิตยสาร ‘สกุลไทย’ รายสัปดาห์ ระหว่างปีพุทธศักราช 2551 - 2552
* เพียงมีรักในใจเธอ ลงตีพิมพ์เป็นตอน ๆ ในนิตยสาร ‘หญิงไทย’ รายปักษ์ ระหว่างปีพุทธศักราช 2551 - 2553
* เรือนลำภู ลงตีพิมพ์เป็นตอน ๆ ในนิตยสาร ‘สกุลไทย’ รายสัปดาห์ ระหว่างปีพุทธศักราช 2552 - 2553
* หนึ่งรักนิรันดร ลงตีพิมพ์เป็นตอน ๆ ในนิตยสาร ‘หญิงไทย’ รายปักษ์ ระหว่างปีพุทธศักราช 2553 - 2555
* ร่วมผลงานนวนิยายเรื่องสั้นประมาณ 58 เรื่อง เรื่องแปลประมาณ 2 เรื่อง สารคดีประมาณ 4 เรื่อง นวนิยายประมาณ 91 เรื่อง
 
ชูวงศ์ ฉายะจินดา กล่าวว่า การที่กลับมาเขียนนวนิยายอีกครั้ง ด้วยเหตุผลเดียวคือ เกิดมาเป็นคนไทย นับถือศาสนาพุทธและอายุสูงปูนนี้ จึงขเอฝากข้อคิดบางประการเพื่อให้คนรุ่นใหม่ในสังคมจะได้ไม่ลืมหลักธรรมเก่า ๆ โดยใช้นวนิยายที่ให้ทั้งความบันเทิงและข้อคิดเป็นสื่อกลางในการถ่ายทอดประสบการณ์และบอกเล่าเรื่องราวต่า ๆ ผ่านมุมมองของผู้หญิงที่ผ่านประสบการณ์ชีวิตมาคนหนึ่ง
 
{{รางวัลนราธิป}}
 
{{เกิดปี|2473}}
[[หมวดหมู่:นักเขียนชาวไทย]]
[[หมวดหมู่:ครูชาวไทย]]
[[หมวดหมู่:นิสิตเก่าคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]]