ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยูโรปา (ดาวบริวาร)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ ‘(?mi)\{\{Link GA\|.+?\}\}\n?’ ด้วย ‘’: เลิกใช้ เปลี่ยนไปใช้วิกิสนเทศ
Steinsplitter (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 74:
 
=== ลักษณะพื้นผิว ===
[[ไฟล์:PIA01295 modestEuropa Global Views in Natural and Enhanced Colors.jpg|thumb|260px|right|สีตามธรรมชาติโดยประมาณ (ซ้าย) และสีที่ได้รับการปรับแต่งแล้ว (ขวา)]]
ยูโรปาเป็นหนึ่งในวัตถุที่เรียบที่สุดในระบบสุริยะ เนื่องจากมีลักษณะทางกายภาพขนาดใหญ่เช่นภูเขาหรืออุกกาบาตอยู่ไม่มาก<ref name="waterworld">{{cite web |url=http://teachspacescience.org/cgi-bin/search.plex?catid=10000304&mode=full |title=Europa: Another Water World? |year=2001 |accessdate=9 August 2007 |publisher=[[NASA]], Jet Propulsion Laboratory |work=Project Galileo: Moons and Rings of Jupiter }}</ref> อย่างไรก็ตาม มีทฤษฎีกล่าวว่าบริเวณ[[เส้นศูนย์สูตร]]ของยูโรปานั้นถูกปกคลุมไปด้วยน้ำแข็งที่มีลักษณะแหลมเรียกว่า เพนิเทนเทส (Penitentes) สูงราว 10 เมตร ซึ่งเกิดจากการที่บริเวณดังกล่าวมีดวงอาทิตย์อยู่ในทิศเหนือศีรษะโดยตรง น้ำแข็งจึงละลายในแนวดิ่ง<ref>[http://www.bbc.co.uk/news/science-environment-21341176 Ice blades threaten Europa landing]</ref> ร่างแหของเส้นที่ตัดกันเป็นเอกลักษณ์ของพื้นผิวของยูโรปาส่วนใหญ่จะเป็น[[ลักษณะแอลบีโด]] (albedo features) ที่ชี้ให้เห็นถึงภูมิประเทศที่ต่ำ ยูโรปามีหลุมอุกกาบาตอยู่ไม่มากเพราะพื้นผิวของมันค่อนข้างแข็งแรงและยังใหม่อยู่<ref name="Arnett1996">Arnett, Bill (7 November 1996) [http://www.astro.auth.gr/ANTIKATOPTRISMOI/nineplanets/nineplanets/europa.html ''Europa'']. astro.auth.gr</ref><ref name="EuropaAlbedo">{{cite web |url=http://www.solarviews.com/eng/europa.htm |author=Hamilton, Calvin J. |title=Jupiter's Moon Europa|work=solarviews.com }}</ref> เปลือกน้ำแข็งของยูโรปาทำให้อัตราส่วนสะท้อนของมันอยู่ที่ 0.64 ทำให้มันเป็นหนึ่งในดาวบริวารที่มีอัตราการสะท้อนแสงมากที่สุดในบรรดาดาวบริวารทั้งหมด<ref name="datasheet" /><ref name="EuropaAlbedo" /> ซึ่งน่าจะชี้ให้เห็นได้ถึงพื้นผิวที่ใหม่และมีพลัง โดยพื้นผิวดวงจันทร์ยูโรปามีอายุประมาณ 20 ถึง 180 ล้านปีเมื่อคำนวณจากความถี่ของการถูกดาวหางพุ่งชน<ref name="Schenk">Schenk, Paul M.; Chapman, Clark R.; Zahnle, Kevin; and Moore, Jeffrey M. (2004) [http://books.google.com/books?id=8GcGRXlmxWsC&pg=PA427 "Chapter 18: Ages and Interiors: the Cratering Record of the Galilean Satellites"], pp. 427 ff. in ''Jupiter: The Planet, Satellites and Magnetosphere'', Cambridge University Press, ISBN 0-521-81808-7. </ref> อย่างไรก็ตาม
ขณะนี้ยังไม่มีคำอธิบายทางวิทยาศาสตร์ที่สามารถอธิบายถึงลักษณะพื้นผิวของดวงจันทร์ยูโรปาทั้งหมดได้โดยสมบูรณ์<ref name="Astrobio2007">{{cite web |url=http://www.astrobio.net/exclusive/603/high-tide-on-europa |title=High Tide on Europa |year=2007 |accessdate=20 October 2007 |publisher=astrobio.net |work=Astrobiology Magazine }}</ref>