ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2519"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 18:
| combatant1 = คณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน
| combatant2 = [[คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 37]]
| commander1 = {{flagicon image|EmblemFlag of the Royal Thai Armed ForcesDefence HQMinister.svg}} [[สงัด ชลออยู่]] <br> {{flagicon image|Royal Thai Air Force Flag.svg}} [[กมล เดชะตุงคะ]]<br> {{flagicon image|Royal Thai Army Flag.svg}} [[เสริม ณ นคร]]
| commander2 = [[หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช|ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช]]
| commander3 =
บรรทัด 26:
}}
 
'''รัฐประหาร 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519''' เกิดขึ้นในเวลา 18.00 น. ของวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2519/A/120/1.PDF แถลงการณ์ของคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน (แถลงการณ์การยึดอำนาจการปกครอง)]</ref> อันเนื่องจากเหตุการณ์การสังหารหมู่ที่[[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]] [[ท่าพระจันทร์]] ที่เกิดขึ้นมาตลอดช่วงวันนั้นที่เรียกว่า [[เหตุการณ์ 6 ตุลา]] รัฐบาลพลเรือนโดย [[หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช]] นายกรัฐมนตรี, และรัฐมนตรีว่าการ[[กระทรวงมหาดไทย]]และรัฐมนตรีว่าการ[[กระทรวงกลาโหม]] ไม่อาจควบคุมสถานการณ์ให้อยู่ในความสงบเรียบร้อยได้ คณะนายทหาร 3 เหล่าทัพและ[[รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ|อธิบดีกรมตำรวจ]] นำโดย พลเรือเอก[[สงัด ชลออยู่]] ผู้บัญชาการทหารสูงสุดรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม จึงจำเป็นต้องยึดอำนาจการปกครองไว้ โดยใช้ชื่อว่า '''คณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน'''
 
โดยคณะนายทหารได้เชิญ ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช นายกรัฐมนตรีไปปรึกษาหารือที่[[กองบัญชาการทหารสูงสุด]]ที่[[สนามเสือป่า]] รวมทั้งได้ร่วมรับประทาน[[โต๊ะจีน]]และพักค้างคืนด้วยกัน จนกระทั่งรุ่งเช้าของวันที่ [[7 ตุลาคม]] ม.ร.ว.เสนีย์จึงลากลับไป