ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มีฮาอิล กอร์บาชอฟ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ ‘(?mi)\{\{Link GA\|.+?\}\}\n?’ ด้วย ‘’: เลิกใช้ เปลี่ยนไปใช้วิกิสนเทศ
Mr.Big Bean (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 30:
== ความก้าวหน้าทางการเมือง ==
ต่อมาในปี พ.ศ. 2513 กอร์บาชอฟได้รับเลือกให้เป็นผู้ช่วยผู้บริหารสูงสุดของ "สหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต" และเป็นสมาชิกกรรมการกลางของพรรคในปี [[พ.ศ. 2514]] เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรระหว่างปี พ.ศ. 2523 - 2528 เป็นสมาชิก[[โปลิตบูโร]]ในปี [[พ.ศ. 2533]] และเป็นเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์ ระหว่าง พ.ศ. 2528 - 2534 แทนเชร์เนนโกที่เสียชีวิตลง จนกระทั่งได้เป็นประธานคณะผู้บริหารโซเวียตสูงสุด (President of the Presidium of the Supreme Soviet) ในปี พ.ศ. 2533 ซึ่งเป็นประธานาธิบดีคนสุดท้ายของระบอบใหม่ก่อนการล่มสลายของสหภาพ
 
[[ไฟล์:Reagan and Gorbachev hold discussions.jpg|thumb|290px|กอร์บาชอฟระหว่างการหารือกับประธานาธิบดี[[โรนัลด์ เรแกน]]ในช่วงนโยบาย "[[เปเรสตรอยกา]]" ]]
 
== นโยบายการปฏิรูป ==
ในระหว่างการดำรงตำแหน่งเลขาธิการพรรค กอร์บาชอฟได้ริเริ่มโครงการปฏิรูปและปรับโครงสร้างระบบเศรษฐกิจและการเมืองจากหน้ามือเป็นหลังมือ ด้วยนโยบายที่รู้จักกันในชื่อ "[[เปเรสตรอยคา]]" (Perestroika - แปลว่า "การปรับโครงสร้าง") เป็นการให้เสรีภาพแก่ประชาชนมากขึ้น ยอมให้มีการวิพากษ์วิจารณ์แสดงความคิดเห็นในที่สาธารณะ เพิ่มเสรีภาพแก่สื่อและสิ่งพิมพ์ ยอมให้มีเสรีภาพทางวัฒนธรรม และนโยบาย "[[กลัสนอสต์]]" (Glasnost - แปลว่า "ความโปร่งใส") ที่ยอมให้มีการประเมินและแก้ไขประวัติศาสตร์ของประเทศ
 
[[ไฟล์:[[File:Ss-130404-gorbachev-20.grid-6x3.jpg|thumb|290px|[[กอร์บาชอฟในงานรับ"[[รางวัลโนเบล]]"]]
==รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ==
จากที่เขาปรับปรุงระบบเศรษฐกิจและการเมืองให้เสรีภาพแก่ประชาชนมากขึ้นทำให้เขาได้รับ[[รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ]]ในพ.ศ.2533
== การล่มสลายของสหภาพโซเวียต ==
{{บทความหลัก|การล่มสลายของสหภาพโซเวียต}}