ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความเห็นพ้อง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
FESTH (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
FESTH (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เพิ่มยูอาร์แอล wikipedia.org
บรรทัด 1:
== '''ความหมาย''' ==
รากศัพท์ของคำว่าฉันทามติ ([https://simple.wikipedia.org/wiki/Consensus Consensus]) มาจาก[[ภาษาลาติน]]ว่า cōnsēnsus หรือ cōnsentiō หมายถึง ความรู้สึกร่วมกัน (feel together) โดย[[พจนานุกรม]]ฉบับ [http://www.merriam-webster.com/dictionary/consensus Merriam-Webster’s Collegiate Dictionary] ให้ความหมายฉันทามติไว้ว่าเป็นข้อตกลงร่วมกันที่มีลักษณะเป็นการยอมรับแบบเอกฉันท์ ([https://en.wikipedia.org/wiki/Unanimity unanimity]) หัวใจของฉันทามติมีสาระสำคัญอยู่ที่การประนีประนอมระหว่างกัน และจัดกระบวนการให้คนใน[[สังคม]]หรือ[[ชุมชน]]มี[[สิทธิ]]ในการแสดงความคิดเห็น เป้าหมายของฉันทามติมีเพื่อเป็นเครื่องรับประกันว่าสมาชิกทุกคนใน[[ชุมชน]]จะสามารถแสดงความคิดเห็นและหาข้อตกลงร่วมกันได้ (http://www.merriam-webster.com/dictionary/consensus)
ฉันทามติ มักเชื่อมโยงกับการตัดสินใจ ([https://en.wikipedia.org/wiki/Consensus_decision-making consensus decision making]) ซึ่งหมายถึงกระบวนการตัดสินใจโดยกลุ่มคนที่เน้นความยินยอมและเห็นชอบร่วมกันจากผู้มีส่วนร่วมทุกคน ดังนั้น ฉันทามติในกระบวนการตัดสินใจจึงหมายถึงทางออกแห่งปัญหาซึ่งเป็นที่ยอมรับร่วมกัน ได้รับการสนับสนุนจากทุกฝ่าย ถึงแม้อาจไม่ใช่ทางเลือกที่ดีที่สุดในใจของคนทุกคน<ref>Read, James H. (2011). “Consensus”. In George Thomas Kurian et al. The Encyclopedia of Political Science. Washington, D.C.: CQ Press.</ref>
 
บรรทัด 35:
 
# ปัญหาระดับการนิยาม เป็นปัญหาในการให้ความหมายที่เน้นเรื่องของเสียงข้างน้อย ไม่ใช่เรื่องของ “กระบวนการ” เพราะฉันทามติในความหมายสากลไม่ได้สนใจเสียงข้างน้อยแต่เพียงอย่างเดียว แต่จะสนใจทั้งกระบวนการไม่ว่าจะมีเสียงขนาดไหน ก็มี[[สิทธิ]]ที่จะแสดงความคิดเห็นและอภิปรายถกเถียงเพื่อหาข้อตกลงร่วมกันได้
# ปัญหาระดับการปฏิบัติ ฉันทามติมักถูกใช้เป็นข้ออ้างในการไม่ปฏิบัติตามเสียงข้างมาก และไม่สนใจกติกาของ[[สังคม]] ซึ่งปัญหาดังกล่าวถือว่าเป็นปัญหาระดับสากลเช่นเดียวกัน เพราะคำว่า [https://simple.wikipedia.org/wiki/Consensus consensus] ที่ต้องการให้ทุกเสียงมีความหมายอาจจะถูกนำไปบิดเบือนให้กลายเป็นเสียงข้างน้อยเท่านั้นที่มีความหมาย หรือกล่าวได้ว่าเกิดเผด็จการเสียงข้างน้อย ([https://en.wikipedia.org/wiki/Tyranny_of_the_majority minority tyranny])
 
<br />