ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตักบาตรเทโว"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 6:
 
ความเดิมมีว่า ในพรรษาที่ 7 นับแต่วันตรัสรู้ พระพุทธเจ้าเสด็จไปจำพรรษาอยู่บน[[สวรรค์]]ชั้น[[ดาวดึงส์]]เพื่อ[[เทศน์]]โปรดพระพุทธมารดา ที่ได้กำเนิดเป็นเทพบุตรอยู่ในชั้นดุสิต จนบรรลุโสดาปัตติผล ครั้น[[ออกพรรษา]]ในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 แล้ว จึงเสด็จลงจากเทวโลกที่เมือง[[สังกัสสนคร]] ในกาลที่เสด็จลงจากเทวโลก ได้มีเนินเป็นอันเดียวกันจนถึงพรหมโลก เมื่อทรงแลดูข้างล่าง สถานที่นั้นก็มีเนินอันเดียวกันจนถึงอเวจีมหานรก ทรงแลดูทิศใหญ่และทิศเฉียง จักรวาลหลายแสนก็มีเนินเป็นอันเดียวกัน เทวดาก็เห็นพวกมนุษย์ แม้พวกมนุษย์ก็เห็นเทวดา สัตว์นรกก็เห็นมนุษย์และเทวดา ต่างก็เห็นกันเฉพาะหน้าทีเดียว ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงทรงเปล่งฉัพพรรณรังสี ขณะที่พระองค์เสด็จลงมาจากสวรรค์ชั้นดาวดึงส์
(ฟุ้งซ่าน คือ สภาวะกาลจิตนาการ ถึงเทวดาในภาพวาดภาพเขียนเก่าๆที่ "หอศิลปะ" โรคประสาท คือ สภาวะการไปแต่งงานซ้ำซ้อนกับหญิงมีครรภ์ที่แต่งงานแล้ว เรียกว่า หัดเยอรมัน
เทวดา คือสิ่งที่มองไม่เห็นด้วยตาเปล่านะ ต้องนอนหลับฝันดีเอาเท่านั้น เขาเรียกว่า ฝันเปียกในวัด).
 
รุ่งขึ้นวันแรม 1 ค่ำ เดือน 11 ชาวเมืองจึงพากันทำบุญตักบาตรเป็นการใหญ่ เพราะไม่ได้เห็นพระพุทธเจ้ามาถึง 3 เดือน การทำบุญตักบาตรในวันนั้นจึงได้ชื่อว่า '''ตักบาตรเทโวโรหณะ''' ต่อมามีการเรียกกร่อนไปเหลือเพียง '''ตักบาตรเทโว'''
 
เพื่อระลึกถึงเหตุการณ์ในวันนั้น จึงนิยม '''ตักบาตรเทโว''' กันจนเป็นประเพณีสืบมาตราบเท่าทุกวันนี้.
==ประวัติความเป็นมา==
ประเพณีการตักบาตรเทโวโรหณะมีดังนี้