ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นักเคมี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Jiraporn muangporm (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Jiraporn muangporm (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 11:
ผู้ที่มีชื่อเต็มว่า Philipps Arelis Theorphasts Bombast von Hohenheim และเป็นอาจารย์สอนเคมีกับแพทย์ศาสตร์ ได้เดินเข้ามา ในมือถือตำรา''Canon of Medicine''
ที่ปราชญ์อาวิเซนนา (Avicenna) เขียนพร้อมตะโกนเสยงดังลั่นว่า บรรดาแพทย์ เช๋น อาวิเซนนา, กาเลน(Galen),ราซ๊ส (Rhazes) หรือผู้ใดก็ตาม ไม่ว่าจะมาจากเมืองโคโลญ เวียนนา หรือปารีส ไม่ว่าจะตั้งรกราก ในลุ่มแม่น้ำไรน์ แซง หรือดานูบ ไม่ว่าจะเป็นชาวกรีก อาหรับ หรือยิว ล้วนเป็นคนโง่เง่าเบาปัญญามาก และไม่รู้จริงเทียบเท่าพาราเซลซัสเลย เมื่อสิ้นเสียงบริภาษ เขาก็โยนตำราแพทย์ที่อาวิเซนนาเขียนเล่มนั้นเข้ากองไฟ และกว่าคำอธิษฐานว่า ขอให้ตำราสลายเป็นจุณ พร้อมความทุกข์ของมวลมนุษย์
 
 
 
 
 
*บอยล์ (Boyle) ผู้วางรากฐานของวิชาเคมี
[[ไฟล์:Robert Boyle.jpg|150px|thumbnail|left|บอยล์]]
:พ.ศ. 2170 – 2234
ครั้งแรกของคริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นยุคของ ไอแซก นิวตัน ส่วนครึ่งหลังคือช่วงเวลาที่ โรเบิร์ต บอยล์ (Robert Bolye) เป็นนักวิทยาศาสตร์ชั้นนำของอังกฤษ ในฐานะผู้ค้นพบกฎของบอยล์ ซึ่งแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความดันกับปริมาณของแก๊สขณะอุณหภูมิคงที่และเป็นผู้เรียบเรียงหนังสือชื่อ The Sceptical Chymist เมื่อปี พ.ศ. 2204 ซึ่งเป็นตำราที่วางรากฐานของวิชาเคมีให้เป็นระบบ จากที่ไม่มีวิธีการที่แน่นอน และไม่มีการเรียนการสอนในมหาวิทยาลัย หรือแม้แต่อาชีพนักเคมีก็ไม่มี เพราะตามปกติเภสัชกรอังกฤษจะปรุงยาโดยการนำสารประกอบต่างๆ มาผสมปนกันให้คนไข้กิน ในสมัยนั้นคนขายยาถึงถูกเรียกว่า chemist (ปัจจุบัน chemist คือนักเคมี ส่วนเภสัชกรเรียก pharmacist) แต่สำหรับบอยล์ เขามีความคิดว่าเคมีเป็นวิทยาการที่มีอะไรๆมากกว่าการปรุงยา ในช่วงเวลาที่บอยล์ยังมีชีวิตอยู่ เขามีเพื่อนเป็นนักวิทยาศาสตร์หลายคน ดังนั้นจึงเป็นเรื่องไม่ประหลาดใจที่ความสำเร็จของบอยล์จะถูกบดบังโดยผลงานของนิวตันจนทำให้โลกแทบไม่ตระหนักในความสำคัญของบอยล์เลย
 
 
 
 
 
*คาเวนดิช (Cavendish) ผู้พบธาตุไฮโดรเจน
[[ไฟล์:CavendishCavendish_Henry_signature.jpg|150px|thumbnail|left|คาเวนดิช]]
:พ.ศ. 2274 – 2353
ในอดีตเมื่อ 4 ศตวรรษก่อนที่ เฮนรี คาเวนดิช (Henry Cavendish) จะเกิด บรรพบุรุษหลายท่านของสกุลคาเวนดิชมีชื่อเสียงโด่งดัง เพราะเคยเป็นคนสำคัญของประเทศ เช่น ในปี พ.ศ. 1909 พระเจ้าเอ็ดเวิร์ตที่ 3 แห่งอังกฤษทรงแต่งตั้งให้ จอห์น เดอ คาเวนดิช (John de Cavendish) เป็นประธานศาลฏีกา อีก 2 ศตวรรษต่อมา โทมัส คาเวนดิช (Thomas Cavendish) ผู้เป็นโจรสลัดก็มีชื่อเสยงในฐานะชาวอังกฤษคนที่ 2 ที่ได้เดินทางรอบโลก และเมื่อถึงวันที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2274 (ตรงกับรัชสมัยพระภูมินทราชา) เลดี้แอนน์ คาเวนดิช (Lady Anne Cavendish) ก็ให้ได้กำเนิด เฮนรี คาเวนดิช ที่เมืองนีซ ประเทศฝรั่งเศส ซึ่งเป็นสถานที่ที่เธอไปพักรักษาครรภ์และฟื้นฟูสุขภาพโดยมี ลอร์ด ชาร์ล์ คาเวนดิช (Lord Charles Cavendish) ผู้เป็นสามีอยู่ดูแลด้วย แต่ทารกสกุลคาเวนดิชคนน้ เมื่อเติบใหญ่หาได้มักใหญ่ใฝ่อำนาจเหมือน บรรพบุรุษไม่ เพราะ เฮนรี คาเวนดิช ไม่มีความทะเยอทะยานในการแสวงหาตำแหน่งหรือหน้าที่ทางการเมืองเลย กลับอุทิศชีวิตให้วิทยาศาสตร์อย่างเงียบๆ และมีผลงานที่สำคัญ คือ พบธาตุไฮโดรเจน และเป็นบุคคลแรกที่ชั่งหาน้ำหนักของโลก
 
 
 
 
 
*พริสต์ลีย์ (Priestley) ผู้พบออกซิเจน
[[ไฟล์:Priestley.jpg|150px|thumbnail|left|พริสต์ลีย์]]
เส้น 26 ⟶ 41:
 
 
 
*ลาวัวซีเย( Lavoisier)นักเคมีที่เสียชีวิตด้วยกิโยตีน
[[ไฟล์:Lavoisier.jpg|150px|thumbnail|left|ลาวัวซีเย]]
:พ.ศ.2286-2337
ยุโรปก่อนที่ลาวัวซีเยจะเกิด เป็นดินแดนที่ปราชญ์และประชาชนต่างพากันลุ่มหลงเรื่องการเล่นแร่แปรธาตุ ซึ่งมีจุดมุ่งหมายจะเปลี่ยนโลหะชนิดหนึ่งให้เป็นอีกชนิดหนึ่ง เช่น เปลี่ยนตะกั่วที่มีราคาถูกให้เป็นทองคำที่มีราคาแพง แม้ในปี พ.ศ.2204 ที่ โรเบิร์ด บอยล์ ได้ให้แนวคิดเรื่องธาตุว่า ไม่สามารถแบ่งแยกเป็นธาตุอื่นได้แล้วก็ตาม สำหรับวิธีการเรียกชื่อของสารประกอบต่างๆ นั้นก็ยังสับสนมาก เช่น เกลือที่เราปัจจุบันเรียกว่าแมกนีเซียมคาร์บอเนต(mogneslum carbonate) คนฝรั่งเศสในสมัยนั้นมีชื่อเรียกที่ต่างกันเก้าชื่อ เช่น magnesle blanche,mognesla aeré dé Bergman และ Magnesie crayese เป็นต้น สำหรับเรื่องสาเหตุการสันบาปนั้น ผู้คนต่างก็เชื่อทฤษฎีโฟลจิสตันของ เกอร์ก ชทาห์ล (Georg Stahl) แพทย์ชาวเยอรมันผู้ได้แถลงในปี พ.ศ 2261 ว่า สารลุกไหม้เพราะมีสารอีกชนิดหนึ่งที่เรยกว่าโฟลจิสตัน ซึ่งเวลาเาโฟลจิสตันจะถูกขับออกมา ดังนั้นหลังการเผาน้ำหนักของสารที่เหลือจะน้อยลง เพราะตาชั่งในสมัยนั้นไม่มีความแม่นยำในการวัด ดังนั้นจึงไม่มีใครเคยเห็นว่า ถ้าชั่งอย่างรอบคอบน้ำหนักของสารที่เหลือจะเพิ่มขึ้น
 
== แนวทางการศึกษา ==