ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ม้า"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ ‘(?mi)\{\{Link GA\|.+?\}\}\n?’ ด้วย ‘’: เลิกใช้ เปลี่ยนไปใช้วิกิสนเทศ
Awksauce (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 7:
| image_width = 250px
| image_caption = <!-- Caption intentionally left blank per consensus to avoid promoting one breed. -->
| alt =
| regnum = [[Animal]]ia
| phylum = [[Chordate|Chordata]]
บรรทัด 20:
| trinomial = ''Equus ferus caballus''
| trinomial_authority = [[Carl Linnaeus|Linnaeus]], [[10th edition of Systema Naturae|1758]]<ref name="Linn1758">
{{cite book
| last = Linnaeus
| first = Carolus
| authorlink = Carl Linnaeus
| title = Systema naturae per regna tria naturae :secundum classes, ordines, genera, species, cum characteribus, differentiis, synonymis, locis.
| publisher = Holmiae (Laurentii Salvii)
| year = 1758
| page = 73
| url = http://biodiversitylibrary.org/page/726976
| accessdate = 2008-09-08
| volume = 1
| edition = 10th
}}</ref>
| synonyms = 48<ref name=MSW3/>
}}
'''ม้า''' ({{lang-en|horse}}, {{ชื่อวิทยาศาสตร์|Equus ferus caballus}}) <ref name=MSW3>{{MSW3 Perissodactyla | id = 14100016 | page = 630-631}}</ref><ref>{{cite journal|last=International Commission on Zoological Nomenclature|year=2003|title=Usage of 17 specific names based on wild species which are pre-dated by or contemporary with those based on domestic animals (Lepidoptera, Osteichthyes, Mammalia) : conserved. Opinion 2027 (Case 3010)|journal=Bull.Zool.Nomencl.|volume=60|issue=1|pages=81–84|url=http://www.nhm.ac.uk/hosted_sites/iczn/BZNMar2003opinions.htm}}</ref> เป็น[[ชนิดย่อย]]หนึ่งในสองชนิดของ ''Equus ferus'' หรือ[[ม้าป่า]]ที่ยังเหลืออยู่ในปัจจุบัน เป็น[[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม]][[สัตว์กีบคี่|กีบคี่]]ในวงศ์ [[Equidae]] ม้ามีวิวัฒนาการมากว่า 45 ถึง 55&nbsp;ล้านปีจากสิ่งมีชีวิตหลายกีบเท้าขนาดเล็กสู่สัตว์กีบคี่ขนาดใหญ่ในปัจจุบัน มนุษย์เริ่มนำม้ามาเลี้ยงเมื่อราว 4,000 ปีก่อนคริสตกาล และเชื่อว่าการเลี้ยงแพร่หลายเมื่อ 3,000 ปีก่อนคริสตกาล ม้าชนิดย่อย ''caballus'' เป็นม้าบ้านแม้ว่าจะมีประชากรม้าบ้านบางส่วนจะอาศัยอยู่ในป่า เช่น [[ม้าเถื่อน]] (feral horses) ม้าเถื่อนไม่ใช่ม้าป่าที่แท้จริง ดังเช่น[[ม้าป่ามองโกเลีย]]ซึ่งถูกแบ่งแยกออกมาเป็นชนิดย่อยและเป็นชนิดเดียวที่เหลืออยู่ของม้าป่าที่แท้จริง คำว่าม้าเถื่อนใช้เพื่อแสดงว่าม้านี้ไม่ใช่ม้าบ้าน มีคำศัพท์เฉพาะมากมายที่ใช้อธิบายแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับม้า ครอบคลุมจาก[[กายวิภาคศาสตร์|กายวิภาค]]ถึงช่วงชีวิต ขนาด สี สัญลักษณ์ การเพาะพันธุ์ การเคลื่อนไหว และพฤติกรรม
 
กายวิภาคของม้าช่วยให้ม้าใช้ความเร็วในการหนีนักล่า และม้ายังพัฒนาความสมดุลได้อย่างยอดเยี่ยมและสัญชาตญาณสู้หรือถอยที่แข็งแกร่ง ม้ายังมีลักษณะพิเศษเพื่อใช้สำหรับหลบหลีกนักล่า คือ ม้าสามารถยืนหลับหรือล้มตัวลงนอนหลับก็ได้ ม้าตัวเมียจะอุ้มท้องประมาณ 11&nbsp;เดือน ลูกม้าจะยืนและวิ่งได้ในเวลาไม่นานหลังกำเนิด ม้าบ้านจำนวนมากจะเริ่มฝึกภายใต้[[อานม้า]]หรือ[[บังเหียน]]ระหว่างอายุสองถึงสี่ปี ม้าจะโตเต็มที่เมื่ออายุห้าปี และมีช่วงอายุประมาณ 25 ถึง 30&nbsp;ปี
 
สายพันธุ์ม้าแบ่งคร่าวๆคร่าว ๆ ออกเป็น 3 ประเภทตามลักษณะนิสัน พวก "เลือดร้อน (hot blood) " ที่เร็ว ทนทาน "เลือดเย็น (cold blood) " เช่น ม้าแคระ และม้าพันธุ์เล็กบางพันธุ์ ที่ช้าแต่มั่นคง ทำงานหนัก และ "เลือดอุ่น (warmblood) " ที่พัฒนามาจากการผสมข้ามพันธุ์ระหว่างเลือดร้อนและเลือดเย็น เป็นการเพาะพันธุ์เพื่อวัตถุประสงค์ในการใช้งานพิเศษบางประการ โดยเฉพาะในยุโรป ม้าบ้านมีมากกว่า 300&nbsp;พันธุ์ในปัจจุบัน เป็นการพัฒนาเพื่อการใช้งานที่ต่างกันไป
 
ม้าและมนุษย์มีปฏิสัมพันธ์กันอย่างหลากหลายทั้งในการแข่งขันกีฬาและงานที่ไม่ใช่กิจกรรมสันทนาการ เช่น งานตำรวจ การเกษตร การบันเทิง และการบำบัดรักษา ในอดีต มีการนำม้ามาใช้งานในสงคราม ด้วยเหตุนี้จึงเกิดการพัฒนาเทคนิคการขับขี่ที่หลากหลาย โดยใช้ลักษณะที่แตกต่างของอุปกรณ์และวิธีการของการควบคุม มีผลิตภัณฑ์หลายอย่างได้จากม้า ประกอบด้วย เนื้อ นม หนัง ขน กระดูก และยาที่สกัดมาจากน้ำปัสสาวะของม้าตัวเมียที่ตั้งครรภ์
 
เทพนิยายเกี่ยวกับม้า เพกาซัสเกิดมาจากนางกอร์กอน เมดูซ่า ถูกวีรบุรุษเพอร์ซีอุสฟันคอขาดตาย ในขณะที่นางสิ้นใจตายนั้น เพกาซัสก็กระโจนออกมาจากลำคอของนาง ไม่มีใครสามารถปราบเพกาซัสได้เลยซักคน ตอนที่มันเกิดมาใหม่ ๆ และออกวิ่งอย่างคึกคะนองนั้น น้ำที่กระเซ็นจากรอยเท้าที่มันวิ่งก่อให้เกิดน้ำพุสวยงาม คือน้ำพุพีเรเนียน (Pyrenean spring)
 
เทพนิยายเกี่ยวกับม้า เพกาซัสเกิดมาจากนางกอร์กอน เมดูซ่า ถูกวีรบุรุษเพอร์ซีอุสฟันคอขาดตาย ในขณะที่นางสิ้นใจตายนั้น เพกาซัสก็กระโจนออกมาจากลำคอของนาง ไม่มีใครสามารถปราบเพกาซัสได้เลยซักคน ตอนที่มันเกิดมาใหม่ ๆ และออกวิ่งอย่างคึกคะนองนั้น น้ำที่กระเซ็นจากรอยเท้าที่มันวิ่งก่อให้เกิดน้ำพุสวยงาม คือน้ำพุพีเรเนียน (Pyrenean spring)
 
== ม้าในวรรณคดี ==
เส้น 60 ⟶ 59:
{{คอมมอนส์|Horse}}
{{รายการอ้างอิง}}
 
 
{{สัตว์กีบคี่}}
 
 
[[หมวดหมู่:สัตว์เชื่อง]]
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ม้า"