ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไฟฟ้าเคมี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Awksauce (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
Awksauce (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ปรับภาษา}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
'''ไฟฟ้าเคมี''' ({{lang-en|Electrochemistry}}) เป็น[[ศาสตร์]]ของปฏิกิริยาที่ผิวหน้าสัมผัสของ [[วัสดุตัวนำอิเล็กโทรนิก]] (conductor material) ซึ่งเป็น[[อิเล็กโทรด]] (electrode) ที่อาจเป็น[[โลหะ]] หรือ[[สารกึ่งตัวนำ]]อย่าง[[กราไฟต์]] (graphite) และไอออนิกคอนดักเตอร์[[อิเล็กโตรไลต์]] (electrolyte) ถ้า[[ปฏิกิริยาเคมี]] (chemical reaction) เกิดจาก [[แรงดันไฟฟ้า]] (voltage) ภายนอกหรือถ้าแรงดันไฟฟ้าเกิดจากปฏิกิริยาเคมี ดังเช่นไฟฟ้าใน[[แบตเตอรี่]] (Battery) อย่างนีเราเรียกว่าปฏิกิริยาเคมีไฟฟ้าโดยทั่วไปวิชาเคมีไฟฟ้า จะเกี่ยวข้องกับสถานการณ์ปฏิกิริยา [[ออออกซิเดชั่น]] (oxidation) และ [[รีดักชั่น]] (reduction) และทิศทางของ[[ประจุไฟฟ้า]] (charge transfer) จากโมเลกุลหนึ่งไปยังที่อื่นจะไม่ถือว่าเป็นเนื้อหาในเคมีไฟฟ้า
 
ธาตุเคมีที่เกี่ยวข้องกับ[[ปฏิกิริยาเคมี]] (chemical reaction) ไฟฟ้าจะขึ้นกับจำนวน[[อิเล็กตรอน]] (electron) ที่มันจะรับหรือจะให้ซึ่งเรียกว่า''ออกซิเดชั่นสเตต'' (oxidation state) ในสถานะที่เป็นกลาง (neutral state) ออกซิเดชั่นสเตตจะเท่ากับ 0 ถ้าอะตอมใดอะตอมหนึ่งเป็นผู้ให้อิเล็กตรอนในปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นออกซิเดชั่นสเตตของมันจะเพิ่มขึ้นและถ้าธาตุใดรับอิเล็กตรอนออกซิเดชั่นสเตตของมันจะลดลง ดังตัวอย่างเมื่อโซเดียมทำปฏิกิริยากับคลอรีนโซเดียมจะให้อิเล็กตรอน 1 ตัวแล้วมันจะมีออกซิเดชั่นสเตตเป็น +1 ส่วนคลอรีนรับอิเล็กตรอนไป 1 ตัวจะมีค่าออกซิเดชั่นสเตตลดลงเป็น -1 ออกซิเดชั่นสเตตจะเป็น 0 ในปฏิกิริยาเคมีที่ประจุ + และ - หักล้างกันพอดี และแรงดึงดูดไอออนต่างชนิดกันระหว่างของโซเดียมและคลอรีนเรียกว่า[[ไอออนิกบอนด์]] (ionic bond) การสูญเสียอิเล็กตรอนของธาตุเคมีเราเรียกว่า[[ออกซิเดชั่น]] (oxidation) และการได้รับอิเล็กตรอนเราเรียกว่า[[รีดักชั่น]] (reduction) เพื่อให้จำง่ายเรามี[[เทคนิคช่วยจำ]] (mnemonic) ที่นิยมกันมากดังนี้ดังนี้