ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปรัชญา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Awksauce (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
Awksauce (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 1:
{{รวมมา|นักปรัชญา}}
คำว่า '''ปรัชญา''' มีที่มามาจาก[[ภาษาสันสกฤต]] หมายถึงความรู้อันประเสริฐ โดยมีรากศัพท์มาจากคำว่า ''ปฺร'' ที่แปลว่าประเสริฐ กับ คำว่า ''ชฺญา'' ที่แปลว่ารู้ ซึ่งเป็น[[ศัพท์บัญญัติ]]โดย[[พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์]] แทนคำว่า ''philosophy'' ในภาษาอังกฤษ ซึ่งมีรากศัพท์มาจากคำว่า ''Φιλοσοφία ฟีโลโซเฟีย'' ใน[[ภาษากรีกโบราณ]] ซึ่งแยกได้เป็นคำว่า ''φιλεῖν ฟีเลน'' แปลว่า[[ความรัก]] และ ''σοφία โซเฟีย'' แปลว่า[[ความรู้]] เมื่อรวมกันจึงมีความหมายว่า '''"การรักในความรู้"''' หรือ '''ปรารถนาจะเข้าถึงความรู้หรือปัญญา '''
 
เส้น 8 ⟶ 7:
เรื่องที่สอง คือ '''เรื่องเกี่ยวกับ[[สังคม]]''' เช่น [[เศรษฐศาสตร์]] มีเป้าหมายในการศึกษาเกี่ยวกับระบบเศรษฐกิจของสังคม [[รัฐศาสตร์]] มีเป้าหมายในการศึกษาเกี่ยวกับระบบการเมืองการปกครองของสังคม [[นิติศาสตร์]] มีเป้าหมายในการศึกษาเกี่ยวกับระบบกฎหมายของสังคม เป็นต้น
 
เป้าหมายในการศึกษาของปรัชญา คือการครอบคลุมความรู้และความจริงในทุกศาสตร์และในทุกสาขาความรู้ของมนุษย์ รวมทั้งชีวิตประจำวันของตนด้วย ผลจากการศึกษาของปรัชญาก็สามารถนำไปใช้อ้างอิงได้ ผู้รอบรู้ที่มีความรู้ อุทิศตนเพื่อการศึกษาและการผลิตองค์ความรู้ในทางด้านปรัชญามักขนานนามนี้ เรียกกันว่า '''นักปรัชญา''' '''ปราชญ์''' หรือ '''นักปราชญ์'''
 
== ประเด็นทางปรัชญา ==
 
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ปรัชญา"