ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อำเภอป่าโมก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ทศพล ทรวงชัย (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Awksauce (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 36:
{|
|-
|| 1.||บางปลากด|||| (Bang Pla Kot)
|-
|| 2.||ป่าโมก|||| (Pa Mok)
|-
|| 3.||สายทอง|||| (Sai Thong)
|-
|| 4.||โรงช้าง|||| (Rong Chang)
|-
|| 5.||บางเสด็จ|||| (Bang Sadet)
|-
|| 6.||นรสิงห์|||| (Norasing)
|-
|| 7.||เอกราช|||| (Ekkarat)
|-
|| 8.||โผงเผง|||| (Phong Pheng)
|}
 
บรรทัด 68:
# บึงสำเภาลอย
# หนองเจ็ดเส้น
# หนองขโมย
 
== เศรษฐกิจ ==
* '''อาชีพหลัก''' ได้แก่ ทำนา ทำสวนไม้ผล และการประมง ผลผลิตทางการเกษตรที่สำคัญ ได้แก่ [[ข้าว]] [[มะม่วง]] [[มะพร้าวอ่อน]]
* '''อาชีพเสริม''' ได้แก่ ทำอิฐ ทำกลอง ตุ๊กตาชาววัง ชาสมุนไพร ทำก้านธูป
* '''ธนาคาร''' มีอยู่ 3 แห่ง คือ [[ธนาคารกสิกรไทย]] [[ธนาคารออมสิน]] และ[[ธนาคารกรุงไทย]]
บรรทัด 82:
# ห.จ.ก.โรงงานอุตสาหกรรมอิฐอ่างทอง เลขที่ 4 หมู่ที่ 4 ตำบลนรสิงห์
# ห.จ.ก.โรงงานทำอิฐ บ.บ.ก. เลขที่ 17 หมู่ที่ 5 ตำบลบางเสด็จ
# บริษัท เฮ้งมุ่ยหลีอิฐ บ.ป.ก.จำกัด เลขที่ 240/ก หมู่ที่ 5 ตำบลบางปลากด
# โรงอิฐ อ.ม.ท. เลขที่ 199/ก หมู่ที่ 1 ตำบลป่าโมก
# คลังสินค้าอ่างทองซูการ์เทอร์มินัล เลขที่ 1ก หมู่ที่ 5 ตำบลบางปลากด
บรรทัด 88:
 
== สถานที่ท่องเที่ยว ==
* '''[[วัดป่าโมกวรวิหาร]]''' อยู่ในเขตเทศบาลตำบลป่าโมก ริมแม่น้ำเจ้าพระยาฝั่งตะวันตก ห่างจากอำเภอเมืองอ่างทองไปประมาณ 18 กิโลเมตร ตามเส้นทางหลวงหมายเลขแผ่นดิน 309 สายอ่างทอง-อยุธยา เดิมมีวัด 2 วัด อยู่ติดกันคือ วัดตลาดกับวัดชีปะขาว เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธไสยาสน์ที่งดงามมากองค์หนึ่งของประเทศไทย มีความยาวจากพระเมาลีถึงปลายพระบาทประมาณ 22.58 เมตร ก่ออิฐถือปูนปิดทอง องค์พระนี้สันนิษฐานว่าสร้างใน[[สมัยสุโขทัย]] มีประวัติความเป็นมาน่าอัศจรรย์เล่าขานว่า ได้ลอยน้ำมาจมอยู่หน้าวัดราษฎรบวงสรวงแล้วชักลากขึ้นมาไว้ที่ริมฝั่งแม่น้ำ ในพระราชพงศาวดารกล่าวว่า[[สมเด็จพระนเรศวรมหาราช]]ก่อนจะยกทัพไปรบกับพระมหาอุปราชได้เสด็จมาชุมนุมพล และถวายสักการบูชาพระพุทธรูปองค์นี้ ในปี [[พ.ศ. 2269]] [[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ]] ได้เสด็จมาควบคุมการชะลอองค์พระ ให้พ้นจาก กระแสน้ำเซาะตลิ่งพังไปไว้ยังวิหารใหม่ที่วัดตลาดห่างจากฝั่งแม่น้ำ 168 เมตร แล้วโปรดให้รวม ทั้งสองเป็นวัดเดียวกันพระราชทานนามว่าวัดป่าโมกเพราะบริเวณนั้นมีต้นโมกมากมาย สิ่งที่น่าสนใจในวัดนี้มีมากมาย อาทิ พระวิหารพระพุทธไสยาสน์ วิหารเขียน มณฑปพระพุทธบาท 4 รอย เป็นต้น
 
* '''[[วัดสระแก้ว]]''' อยู่ถัดจากวัดท่าสุทธาวาสประมาณ 200 เมตร ตามถนนเลียบคันคลองชลประทาน หากเดินทางมาจากอยุธยาตามเส้นทางอยุธยา-อ่างทอง (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 309) ทางเข้าวัดจะอยู่ซ้ายมือห่างจากอยุธยาประมาณ 15 กิโลเมตร วัดนี้สร้างเมื่อปี [[พ.ศ. 2242]] เดิมชื่อว่า "วัดสระแก" เป็นสถานเลี้ยงเด็กกำพร้าที่มีเด็กอยู่ในความดูแล และได้จัดตั้งคณะลิเกเด็กกำพร้าวัดสระแก้ว เพื่อหารายได้ช่วยเหลือค่าใช้จ่าย ในการเลี้ยงดูเด็กกำพร้าด้วย นอกจากนี้ยังเป็นที่ตั้งของ "สามัคคีสมาคาร" ซึ่งเป็นศูนย์โครงการทอผ้าตามพระราชประสงค์ก่อตั้ง
 
* '''[[วัดสระแก้ว]]''' อยู่ถัดจากวัดท่าสุทธาวาสประมาณ 200 เมตร ตามถนนเลียบคันคลองชลประทาน หากเดินทางมาจากอยุธยาตามเส้นทางอยุธยา-อ่างทอง (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 309) ทางเข้าวัดจะอยู่ซ้ายมือห่างจากอยุธยาประมาณ 15 กิโลเมตร วัดนี้สร้างเมื่อปี [[พ.ศ. 2242]] เดิมชื่อว่า "วัดสระแก" เป็นสถานเลี้ยงเด็กกำพร้าที่มีเด็กอยู่ในความดูแล และได้จัดตั้งคณะลิเกเด็กกำพร้าวัดสระแก้ว เพื่อหารายได้ช่วยเหลือค่าใช้จ่าย ในการเลี้ยงดูเด็กกำพร้าด้วย นอกจากนี้ยังเป็นที่ตั้งของ "สามัคคีสมาคาร" ซึ่งเป็นศูนย์โครงการทอผ้าตามพระราชประสงค์ก่อตั้ง
เมื่อ [[พ.ศ. 2524]] อยู่ในความรับผิดชอบของกองอุตสาหกรรมในครอบครัว [[กระทรวงอุตสาหกรรม]] ที่บ้านบางเสด็จนี้จะมีกี่ทอผ้าอยู่แทบทุกหลังคาเรือน ชาวบางเสด็จจะขยันขันแข็งมุ่งผลิตสินค้าผ้าทอต่าง ๆ เช่น ผ้าซิ่น ผ้าขาวม้า ผ้าปูโต๊ะ ปลอกหมอน ฯลฯ ให้มีคุณภาพดีและมีความสวยงามจนเป็นที่รู้จักแพร่หลายทั่วไป สินค้าเหล่านี้จะรวบรวมไปจัดจำหน่ายแก่ผู้สนใจที่ศูนย์สามัคคีสมาคาร ติดต่อสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ โทร. 0 3561 1169
 
* '''[[หมู่บ้านทำกลอง]]''' ตั้งอยู่ที่หมู่บ้านแพ ตำบลเอกราช หลังตลาดป่าโมก ริมฝั่งซ้ายของแม่น้ำเจ้าพระยา การเดินทางใช้ถนนสายใน ผ่านหน้าที่ทำการเทศบาลอำเภอป่าโมกซึ่งขนานไปกับลำคลองชลประทาน ระยะทางประมาณ 17 กิโลเมตร ชาวบ้านแพเริ่มผลิตกลองมาตั้งแต่ [[พ.ศ. 2470]] โดยจะเริ่มหลังฤดูเก็บเกี่ยว วัตถุดิบที่ใช้ได้แก่ไม้ฉำฉาเพราะเป็นไม้เนื้ออ่อนที่สามารถขุดเนื้อไม้ได้ง่ายกับหนังวัว นอกจากคุณภาพที่ประณีตสวยงามแล้วยังมีหลายขนาดให้เลือกอีกด้วย โดยเฉพาะกลองขนาดจิ๋วจะเป็นที่นิยมหาซื้อไว้เป็นของที่ระลึกซึ่งขายดีมาก
 
* '''[[วัดท่าสุทธาวาส]]''' อยู่ริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยาด้านทิศตะวันออกเขตตำบลบางเสด็จ หากใช้เส้นทางสายอยุธยา-อ่างทอง (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 309) ทางเข้าวัดจะอยู่ทางซ้ายมือห่างจากตัวจังหวัดอ่างทองประมาณ 17 กิโลเมตร หรือห่างจากจังหวัดพระนครศรีอยุธยาประมาณ 14 กิโลเมตร วัดนี้เป็นวัดเก่าแก่แต่โบราณ สมัยอยุธยาตอนต้นในการศึกสงครามครั้ง[[กรุงศรีอยุธยา]] บริเวณนี้จะเป็นเส้นทางเดินทัพข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาปัจจุบัน [[สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี]]ทรงรับไว้ในพระราชอุปถัมภ์ มีการจัดสร้างพลับพลาที่ประทับกลางสระน้ำ พระเจดีย์เพื่อแสดงพระพุทธรูปโบราณและโบราณวัตถุต่าง ๆ รวมทั้งพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและ[[สมเด็จพระเอกาทศรถ]] ภายในพระอุโบสถ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จิตรกรส่วนพระองค์และนักเขียนโครงการศิลปาชีพเขียนภาพจิตรกรรมฝาผนังด้วย บริเวณวัดแห่งนี้มีความร่มรื่นด้วยต้นไม้ขนาดใหญ่และทิวทัศน์สวยงามริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยาชวนให้เป็นที่น่าพักผ่อน