ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยีสต์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ ‘(?mi)\{\{Link GA\|.+?\}\}\n?’ ด้วย ‘’: เลิกใช้ เปลี่ยนไปใช้วิกิสนเทศ
Taksaporn BS (คุย | ส่วนร่วม)
การเพาะเลี้ยงยีสต์
บรรทัด 1:
<ref>http://home.kku.ac.th/pracha/Yeast%20Culture.htm</ref>{{ต้องการอ้างอิง}}
{{ตารางจำแนกพันธุ์
| color = lightblue
บรรทัด 22:
 
'''ยีสต์''' หรือ '''ส่าเหล้า''' ({{lang-en|yeast}}) คือ รากลุ่มหนึ่งที่ส่วนใหญ่เป็น[[เซลล์]]เดี่ยว มีรูปร่างหลายแบบ เช่น รูปร่างกลม รี สามเหลี่ยม รูปร่างแบบมะนาว ฝรั่ง เป็นต้น ส่วนใหญ่มีการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ โดยวิธีการแตกหน่อ พบทั่วไปในธรรมชาติในดิน ในน้ำ ในส่วนต่างๆ ของพืช ยีสต์บางชนิดพบอยู่กับ[[แมลง]] และในกระเพาะของสัตว์บางชนิด แต่แหล่งที่พบยีสต์อยู่บ่อยๆ คือแหล่งที่มีน้ำตาลความเข้มข้นสูง เช่น น้ำผลไม้ที่มีรสหวาน ยีสต์ที่มีอยู่ตามธรรมชาติ มักจะปนลงไปในอาหาร เป็นเหตุให้อาหารเน่าเสียได้
ยีสต์เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีขนาดเล็กมาก มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส (eukaryotic micro-organisms) จัดอยู่ในกลุ่มจำพวกเห็ด รา (Fungi) มีทั้งที่เป็นประโยชน์และโทษต่ออาหาร มีการนำยีสต์มาใช้ประโยชน์นานมาแล้ว โดยเฉพาะการผลิตอาหารที่มีแอลกอฮอล์ จากคุณสมบัติที่มีขนาดเล็กมาก สามารถเพาะเลี้ยงให้เกิดได้ในเวลาอันรวดเร็ว และวิธีการไม่ยุ่งยาก ทำให้ยีสต์เริ่มมีบทบาทที่สำคัญในวงการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ โดยสามารถนำมาใช้เป็นอาหารสำหรับเลี้ยงอาหารธรรมชาติที่สำคัญอีกทีหนึ่ง เช่น ไรแดง โรติเฟอร์ และอาร์ทีเมีย
.
 
การใช้ประโยชน์จากยีสต์ในปัจจุบัน
 
1. ทำอาหารหมักบางชนิด ได้แก่ ข้าวหมาก อุ สาโท และกระแช่
 
2. ประโยชน์ในอุตสาหกรรมหลายประเภท เช่น การทำขนมปัง ไวน์ เหล้า เบียร์ แอลกอฮอล์ และ
วิธีการเพาะเลี้ยงยีสต์
 
การเพาะเลี้ยงยีสต์เพื่อเป็นอาหารเลี้ยงอาหารธรรมชาติที่ใช้ในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ เช่น ไรแดง โรติเฟอร์ หรืออาร์ทีเมีย จะง่ายกว่าการเพาะเลี้ยงยีสต์ในกิจการอื่นๆ เช่นการผลิตเหล้า เบียร์ และไวน์ เพราะการเพาะเลี้ยงยีสต์เพื่อนำไปเป็นอาหารเลี้ยงอาหารธรรมชาติของสัตว์น้ำนั้น ไม่ต้องระมัดระวังเรื่องการปนเปื้อน
 
จากจุลินทรีย์ชนิดอื่นๆ
 
ข้อสำคัญ คือ พยายามใช้ภาชนะที่มีปากขนาดเล็กและสะอาด เพื่อลดการปนเปื้อนจากจุลินทรีย์ชนิดอื่นๆให้เกิดน้อยที่สุด ได้แก่ ขวดน้ำดื่ม ขวดน้ำอัดลมพลาสติก ขนาดตั้งแต่ 600 750 1,000 1,250 2,000 และ 2,500 มิลลิลิตร หรือถังใส่น้ำยาชนิดต่างๆและถังน้ำมันเครื่อง ขนาดความจุ 2.5 – 5 ลิตร หรือถังน้ำ 20 ลิตร ที่ใช้กับเครื่องทำน้ำเย็น
 
.
 
ขั้นตอนการเพาะเ
*
# เนื้อหารายการสัญลักษณ์
* เนื้อหารายการสัญลักษณ์
ลี้ยงยีสต์
 
1. เตรียมภาชนะ ล้างน้ำให้สะอาด เช่น ขวดน้ำดื่ม 1.5 ลิตร
 
2. เตรียมอาหารที่ใช้เลี้ยง ได้แก่ น้ำตาลทรายชนิดใดก็ได้ และแป้งข้าวเจ้า แป้งข้าวเหนียว หรือแป้งข้าวโพด
 
3. เตรียมเชื้อยีสต์ (หาซื้อได้ตามซุปเปอร์มาเกต บรรจุขวดๆละประมาณ 15 กรัม ราคาขวดละ 25 – 35 บาท)
 
4. การดำเนินการ
 
4.1 เติมน้ำประมาณ 0.5 ลิตร ลงในขวด
 
4.2 เติมน้ำตาล ใช้น้ำตาลทรายประมาณ 5.0 กรัม (ประมาณ 1 ช้อนชา แล้วเขย่าให้น้ำตาลละลายให้หมด)
 
4.3 เติมแป้ง ใช้แป้งประมาณ 1.5 กรัม (ประมาณ 1 ช้อนชา แล้วเขย่าให้ละลาย)
 
4.4 เติมเชื้อยีสต์ ประมาณ 0.5 กรัม (ประมาณ 1/4 ช้อนชา) ละลายน้ำในแก้วหรือถ้วย (ขยี้ให้ยีสต์ละลายน้ำให้หมด) แล้วเทใส่ลงในขวด
 
4.5 เติมน้ำเปล่าเพิ่มลงในขวดให้ได้ปริมาตร 1 ลิตร (ประมาณค่อนขวด) ปิดฝาให้แน่นแล้วเขย่าขวดแรงๆให้ผสมเป็นเนื้อเดียวกัน แล้วคลายเกลียวฝาขวดให้ปิดพอหลวมๆ วางขวดไว้ในที่ร่ม (มีการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกมาตลอดเวลา ความดันในขวดจะสูงมาก)
 
4.6 หมั่นเขย่าขวดวันละ 4 – 5 ครั้ง (ก่อนเขย่าควรปิดฝาให้แน่นก่อน แล้วคลายเกลียวเหมือนเดิม)
 
5. การเก็บเกี่ยวผลผลิต วันที่ 3 จากการดำเนินการ ยีสต์จะแพร่พันธุ์เพิ่มจำนวนขึ้นอย่างมากมาย ก็สามารถนำน้ำในขวดไปเทให้ไรแดง โรติเฟอร์ หรืออาร์ทีเมียได้
 
.
=====
== ตัวอักษรหัวเรื่อง ==
=====
อาหารเสริมโปรตีน ฯลฯ อุตสาหกรรมสังเคราะห์วิตามิน เอนไซม์ และไขมัน
 
3. ทางด้านการประมงหรือการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ในการเป็นอาหารสำหรับเลี้ยงอาหารธรรมชาติ เพราะยีสต์เป็นสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กมาก คือมีขนาดประมาณ 3 – 4 ไมครอน และสามารถดำเนินการเพาะเลี้ยงได้ค่อนข้างง่ายมาก คือ
 
· ใช้ภาชนะขนาดเล็ก ขวดน้ำดื่มพลาสติก
 
· ใช้เวลาในการเพาะขยายพันธุ์ค่อนข้างเร็ว เพียง 2 – 3 วัน
 
· อาหารที่ใช้ในการเลี้ยงจัดเตรียมได้ง่าย คือใช้เฉพาะแป้งและน้ำตาล
 
.
 
การจัดลำดับทางอนุกรมวิธาน
 
ยีสต์ หรือ ส่าเหล้า คือ รากลุ่มหนึ่งที่ส่วนใหญ่เป็นเซลล์เดี่ยว มีรูปร่างหลายแบบ เช่น รูปร่างกลม รี สามเหลี่ยม รูปร่างแบบมะนาว ฝรั่ง เป็นต้น ยีสต์ มีคุณสมบัติในการเปลี่ยนน้ำตาลให้เป็นคาร์บอนไดออกไซด์ และแอลกอฮอล์ได้ โดยหลักการทำงานของยีสต์ หรือ "เบเกอร์ ยีสต์" (Baker yeast) ที่ใส่ให้ขนมปังฟู เนื่องมาจากยีสต์ที่ใส่ลงไปมีการใช้น้ำตาลในแป้งขนมปัง หรือที่เรียกกันว่า "โด" (dough) เป็นอาหาร และระหว่างที่มันกินอาหารมันก็จะหายใจเอาออกซิเจนเข้าไป และปล่อยคาร์บอนไดออกไซต์ออกมา เมื่อเราเอาแป้งไปอบ ก๊าซที่มันคายออกมาก็ผุดขึ้นมาระหว่างเนื้อขนมปังทำให้เกิดรูพรุนจนฟูขึ้นมา Wikipedia (2010) จัดลำดับชั้นของยีสต์ไว้ดัังนี้
 
Kingdom : Fungi
 
Phylum : Ascomycota
 
Subphylum : Saccharomycotina (true yeasts)
 
Class : Ascomycetes
 
Order : Saccharomycetales
 
Family : Saccharomycetaceae
 
Genus : Saccharomyces
 
ลักษณะภายนอกและโครงสร้างของเซลล์
 
• รูปร่างค่อนข้างกลม (spheroidal or globular structures)
 
• ขนาดเล็กมากเพียง 3 – 4 ไมครอน ต้องดูด้วยกล้องจุลทรรศน์กำลังขยายสูงยังเห็นเป็นเซลล์ค่อนข้างกลมขนาดเล็กเท่านั้น
 
• โครงสร้างของเซลล์ประกอบด้วยผนังเซลล์ (cell wall) ภายในเป็นของเหลว (cytoplasm) นิวเคลียส (nucleus) รูปทรงกลมขนาดใหญ่อยู่เกือบกลางเซลล์ และมีช่องว่าง (vacuole) ขนาดใหญ่อยู่ทางด้านท้ายของเซลล์
 
ยีสต์เป็นจุลินทรีย์ที่รู้จักกันมาตั้งแต่สมัยโบราณถึงกับมีผู้กล่าวว่า ยีสต์เป็นจุลินทรีย์ชนิดแรกที่มนุษย์นำมาใช้ รายงานแรกเกี่ยวกับการใช้ยีสต์ คือการผลิตเบียร์ชนิดหนึ่งที่เรียกว่า [[Heineken]] เมื่อประมาณ 6,000 ปีก่อนคริสต์ศักราช คนไทยรู้จักใช้ประโยชน์จากยีสต์มาเป็นเวลานาน เช่นในการทำอาหารหมักบางชนิด ได้แก่ [[ข้าวหมาก]] [[ปลาแจ่ว]] เครื่องดองของเมาหลายชนิดเช่น [[อุ]] [[สาโท]] และ[[กระแช่]] เป็นต้น ปัจจุบันมีการนำยีสต์มาใช้ประโยชน์ใน[[อุตสาหกรรม]]หลายประเภท เป็นต้นว่าการผลิต[[เครื่องดื่มแอลกอฮอล์]] ชนิดต่างๆเช่น [[เบียร์]] [[ไวน์]] และ[[วิสกี้]] การผลิต[[เอทิลแอลกอฮอล์]]เพื่อใช้เป็นสารเคมี และ[[เชื้อเพลิง]] การผลิตเซลล์ยีสต์ เพื่อใช้เป็นยีสต์ขนมปังและเป็นโปรตีนเซลล์เดียว
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ยีสต์"