ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โจรกรรม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 52:
* '''โจรใต้''' ในท้องถิ่นภาคใต้ถือว่าการปล้นสะดมเป็นอาชีพหนึ่ง ทำให้ทางปักษ์ใต้มีปัญหาโจรปล้นสะดมทั้งโจรทางบกและ[[โจรสลัด]] เช่น ตนกูหมัดสะอาดและตนกูอับดุลลาห์ หัวหน้าโจรสลัดของ[[แหลมมลายู]]เข้าปล้นสะดมเมือง[[ตรัง]]ในช่วง พ.ศ. 2354 - 2381 <ref name="ถ้ำเสือ"/>
* '''โจรเมืองสุพรรณ''' หลัง[[สงครามโลกครั้งที่ 1]] [[สุพรรณบุรี]]มีโจรผู้ร้ายชุกชุมมากเพราะเมืองสุพรรณยังมีลักษณะเป็นหัวเมืองป่าดงที่รกร้างไปตั้งแต่เสียกรุงศรีอยุธยา การคมนาคมลำบาก เมื่อราว พ.ศ. 2460 มีการเปิดบริษัทเดินเรือไปสุพรรณบุรี บ้านเมืองเจริญขึ้น โจรผู้ร้ายลดน้อยลงบ้าง จนหลัง[[สงครามโลกครั้งที่ 2]] จึงเกิดชุมโจรขึ้นในสุพรรณบุรีเป็นจำนวนมาก เช่น ชุม[[เสือฝ้าย]] [[เสือดำ (โจร)|เสือดำ]] [[เสือใบ]] [[เสือมเหศวร]] เสือแบน เสือหนาม เสือแฉ่ง หลังจากสงครามโลกสงบลงไม่กี่ปี ทางกองปราบฯได้ส่งตำรวจเข้าปราบปรามอย่างจริงจัง ชุมโจรในสุพรรณบุรีจึงหมดไปในที่สุด<ref>[[มนัส โอภากุล]]. สุพรรณเป็นเมืองโจร เมืองคนดุจริงหรือ. '''ศิลปวัฒนธรรม'''.พฤษภาคม 2540. ปีที่ 18 (7) หน้า 90-99 </ref>
* '''นายนครินทร์ (ไม่รู้นามสกุล) 4.5 ''' ฆาตกรโรคจิตว่ากันว่าสังหารมาแล้วทั้งหมด 134 ศพ ในปี ค.ศ. 1978 (พ.ศ. 2521) หลบหนีการจับกุมได้ถึง 28 ครั้งและแหกคุกออกมาได้ทุกครั้งที่ถูกจับเล่ากันว่าผู้ชายคนนี้เคยมีครอบครัวมาก่อนจนกระทั่งเกิดอาการผิดปกติจนสังหารลูกเมียของตนอย่างโหดเหียมและเอาศพของครอบครัวไปหมกที่ใต้เตียงนอนของตนจนเกิดความสนุกในการสังหารชีวิตผู้คนและเริ่มกระทำผิดกฎหมายต่างเช่น ฆ่าข่มขื่น และ กระทำชำเราศพ จากนั้นก็หลบนี้ไปอยู่ที่จังหวัด นครราชสีมา จนถูกจับกุมใด้ในวันที่ 13 สิงหาคม ค.ศ. 2002 (พ.ศ. 2545)และถูกประหารชีวิตโดยการยิงเป้า
 
== อ้างอิง ==