ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เหตุผลวิบัติโดยหลักฐานไม่สมบูรณ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
แปลเสร็จ
 
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับให้ดีขึ้น
บรรทัด 4:
'''เหตุผลวิบัติโดยหลักฐานไม่สมบูรณ์''' ({{lang-en|fallacy of incomplete evidence}}) หรือ '''การปิดบังหลักฐาน''' ({{lang-en|suppressing evidence}}) หรือแปลจากคำ[[ภาษาอังกฤษ]]ว่า Cherry picking คือ '''การเลือกเก็บเชอร์รี่'''
เป็นการชี้หลักฐานเป็นกรณี ๆ หรือแสดงข้อมูลที่ยืนยันความเห็นโดยเฉพาะอย่างหนึ่ง ๆ
โดยที่ไม่สนใจมองข้ามกรณีหรือข้อมูลที่เกี่ยวข้องกันเป็นจำนวนมากที่อาจจะขัดแย้งกับความเห็นนั้น ๆ
นี้เป็น[[เหตุผลวิบัติ]]โดยการเลือกให้[[ความใส่ใจ]] และตัวอย่างที่เห็นบ่อยที่สุดก็คือ[[ความเอนเอียงเพื่อยืนยัน]]<ref>{{cite web |title=Fallacies |url=http://www.iep.utm.edu/fallacy/#SuppressedEvidence |work=The Internet Encyclopedia of Philosophy |author=Dowden, Bradley |year=2010 }}</ref><ref>{{cite web |title=Cherry Picking |url=http://www.logicallyfallacious.com/index.php/logical-fallacies/66-cherry-picking }}</ref>
เหตุผลวิบัติชนิดนี้จะเกิดขึ้นโดยตั้งใจหรือไม่ตั้งใจก็ได้
บรรทัด 15:
การเลือกเก็บเชอร์รี่พบได้ในเหตุผลวิบัติเชิงตรรกะหลายอย่าง
ยกตัวอย่างเช่น[[หลักฐานโดยเรื่องเล่า|เหตุผลวิบัติโดยหลักฐานเป็นเรื่องเล่า]]มักจะใส่ใจแต่ข้อมูลที่บุคคลต่าง ๆ เล่าให้ฟังแต่ไม่ใส่ใจหลักฐานข้อมูลอื่น ๆ
ส่วน "การใช้หลักฐานแบบเลือก" ({{lang-en|selective use of evidence}}) จะปฏิเสธข้อมูลที่ไม่เข้ากับประเด็นที่อ้าง
ในขณะที่ "ทวิวิภาคเทียม" ({{lang-en|false dichotomies}}) จะแสดงทางเลือกเพียงแค่สองอย่างแม้จะมีทางเลือกอื่น ๆ ที่ใช้ได้
การเลือกเก็บเชอร์รี่อาจหมายถึงการเลือกข้อมูลหรือ[[เซต (โครงสร้างข้อมูล)|เซ็ตข้อมูล]]
ที่จะมีผลให้งานศึกษาหรืองานสำรวจ แสดงผลที่ต้องการ
ซึ่งอาจจะเป็นเพียงแค่ความบิดเบือนหรือจนกระทั่งถึงแม้แต่การคัดค้านความเป็นจริง<ref>{{Cite book|title=Bad Science|author=Ben Goldacre|publisher=Fourth Estate|isbn=978-0-00-728487-0|pages=97-9}}</ref>
 
== ในวิทยาศาสตร์ ==
บรรทัด 27:
โดยที่ไม่ใส่ใจหรือไม่พิจารณาหลักฐานที่ไม่สนับสนุน
เป็นข้อปฏิบัติที่เรียกว่า "การเลือกเก็บเชอร์รี่" และเป็นตัวชี้บอกถึงความเป็นงานวิทยาศาสตร์ที่ไม่ดี หรือเป็นงาน[[วิทยาศาสตร์เทียม]]
คำให้การของ|[[ศาสตราจารย์เกียรติคุณ]] ริชาร์ด ซอมเมอร์วิลล์ ต่อให้การกับคณะกรรมการพลังงานและการค้าของ[[สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐอเมริกา]]ปี ค.ศ. 2011
|
คำให้การของ[[ศาสตราจารย์เกียรติคุณ]] ริชาร์ด ซอมเมอร์วิลล์ ต่อคณะกรรมการพลังงานและการค้าของ[[สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐอเมริกา]]ปี ค.ศ. 2011
}}
 
{{Quote |
งาน[[วิทยาศาสตร์]]ที่เข้มงวดกวดขัน
* จะพิจารณาหลักฐานที่มีอยู่ทั้งหมด (ไม่ใช่เพียงแต่เลือกเก็บเชอรร์รี่ คือหลักฐานที่ชอบใจ)
* จะควบคุมตัวแปรต่าง ๆ เพื่อที่จะกำหนดได้ว่า ตัวแปรอะไรเป็นเหตุที่ให้ผลจริง ๆ
* จะใช้วิธี[[การทดลองแบบบอด|การสังเกตการณ์แบบบอด]] เพื่อลดอิทธิพลที่เกิดจาก[[ความเอนเอียง]]ให้เหลือน้อยที่สุด
* และจะใช้การพิจารณาทาง[[ตรรกะ]]ที่ไม่ขัดแย้งกันเอง<ref>{{cite web |title=A Skeptic In Oz |url=http://www.sciencebasedmedicine.org/index.php/a-skeptic-in-oz/ |author=Novella,Steven |publisher=Science-Based Medicine }}</ref>
|น.พ.[[ประสาทวิทยา]]สตีเว็น โนเว็ลลา (ผ.ศ.ที่[[มหาวิทยาลัยเยล]]) กล่าวถึงการสัมภาษณ์ในรายการ[[การแพทย์ทางเลือก|แพทย์ทางเลือก]]<ref>{{cite web |title=A Skeptic In Oz |url=http://www.sciencebasedmedicine.org/index.php/a-skeptic-in-oz/ |author=Novella,Steven |publisher=Science-Based Medicine }}</ref>
}}
 
บรรทัด 42:
ในงานวิจัยปี ค.ศ. 2002 นักวิจัยกลุ่มหนึ่ง
{{quote|
"ทำงานปริทัศน์เกี่ยวกับงานทดลองทรงอิทธิผลของยาลดความซึมเศร้า 31 งาน เพื่อที่จะกำหนดกฏเกณฑ์การยกเว้น (exclusion criteria) ซึ่งเป็นหลัก ที่ใช้ในการตัดสินคุณสมบัติ (คนไข้) เพื่อเลือกเข้าในงานทดลอง
ผลงานปริทัศน์นี้เสนอว่า คนไข้ในงานทดลองยาลดความซึมเศร้าชุดนี้ เป็นตัวแทนคนไข้เพียงส่วนน้อย ของผู้ปกติรับการรักษาทางคลินิกเพื่อ[[โรคซึมเศร้า]]
(และ) การยกเว้นคนไข้ที่มีลักษณะเฉพาะบางอย่างจาก[[งานทดลองทางคลินิก]]ชุดนั้นแสดงว่า
การยกผลที่ได้จากงานทดลองยาลดความซึมเศร้าขึ้นเป็นนัยทั่วไป ขาดหลักฐานทางประสบการณ์ (empirical support)"