ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชาวไทพวน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Komsun875 (คุย | ส่วนร่วม)
Komsun875 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 132:
 
อาชีพตีเหล็ก
แต่ดั้งเดิมจริง ๆ ก็ตีเหล็ก ตีพร้า ตีมีด และก็ทำผ้าหม้อห้อม สมัยก่อนไม่ได้เรียกทุ่งโฮ้ง แต่เป็น “ บ้านทั่ง” หรือเรียกว่า “ ทั่งโฮ่ง” เกิดจากทั่งที่มันโฮ้ง คือ มันยุบลงไปเหมือนกับหนองน้ำ คำว่า โฮ่ง เหมือนกับน้ำขัง เป็นหลุมลงไป ต่อมาเพี้ยนมาก็เป็น ทุ่งโฮ้ง
ทุ่งโฮ้งก็จะมีอยู่ 7 หมู่กับ 2 ชุมชน รวมแล้วเป็น 9 ชุมชน วิธีตีเหล็กสมัยก่อนก็เหมือนบ้านร่องฟอง โดยเอาถ่านไฟสูบให้ไฟมันแรงแล้วก็เอาเหล็กใส่ เหล็กที่เอามาทำก็ไม่รู้ว่ามาจากไหน แต่คิดว่าอาจจะซื้อมาแล้วมาตัดแค่ศอก แล้วก็เอามาเผาไฟ จากนั้นก็เอาค้อนทุบให้มันแบน ลักษณะค้อนที่เอามาทุบเหล็ก หัวค้อนจะเป็นเหล็กแต่ด้ามเป็นไม้ แล้วใช้ตะไบมาฝนกับหินมาถูกกับเหล็กให้คมเป็นพร้า แล้วจะสลักชื่อคนทำที่พร้า ปัจจุบันจะไม่ใช้สูบแล้วแต่จะใช้พัดลมเป่าไฟให้แรง สมัยก่อนสูบจะเป็นไม้รูปทรงกระบอก มี 2 อัน และก็จะมีไม้อีก 2 อันเสียบทำเป็นที่จับสูบเป็นแกนจนถึงข้างล่างที่ปลายไม้จะมีผ้าพันเวลาสูบก็จะดึงไม้อันนี้จะเกิดแรงดันลมเป่าไฟให้แรง
สูบ ตรงนี้จะเป็น ผี คนเขานับถือ เขาเรียกกันว่า “ ผีตาเหล็ก” ตอนนี้ไม่ค่อยมีแล้วเขาจะสร้างเป็นศาลเพียงตาไว้ เดือนหก ขึ้นหกค่ำเหนือ เดือนสี่ใต้จะทำพิธีเลี้ยงผีตาเหล็กเป็นเหล้าไหไก่คู่ ประกอบด้วย เหล้าขาว 1 ไห และไก่ 2 ตัว คนจะกราบไว้จะบนไว้ขอให้บ้านเราอยู่แบบสุขสบาย
 
การตีเหล็ก มีอุปกรณ์ เตา สูบ คีม ทั่ง ตะไบ ผ้ากาด คือ เหล็กสำหรับทำให้เหล็กเรียบ คล้าย ๆ กบไสไม้
 
เส้น 150 ⟶ 146:
ตอนนี้แถวนี้ก็ยังทำกันอยู่แต่จะใช้ครามสำเร็จรูปแต่ก็ยังเอามาผสมกับน้ำด่างอยู่ ลักษณะของครามสำเร็จรูปจะเป็นก้อนเหลว ๆ คล้ายดินน้ำมัน
ผ้าหม้อห้อมแท้ ๆ เกิดจากผ้าดิบ วิธีการทำผ้าหม้อห้อมเกิดจากปลูกฝ้ายก่อนแล้วก็เอามาปั่นด้วย เข็น คือ เครื่องปั่นฝ้าย ปั่นจนมันฟูเป็นเส้นด้าย ก็เอาไปชุบน้ำข้าวแล้วเอามาพัดหลอดให้มันเป็นหลอดด้ายเล็ก ๆ แล้วก็เอาไปขึงโยงสายเป็นเส้น ๆ เป็นสายยาว ๆ แล้วก็เอาไปทอ มันจะได้ผ้าขาว เอาไปย้อมในหม้อโอ่งจะมีใบครามแช่จนเปลื่อยผสมกับปูนแดงหรือปูนขาวก็ได้ และผสมกับน้ำด่างจากขึ้เถ้า จะได้สีครามเข้มออกคล้าย ๆ กับสีดำ แล้วเอาลงย้อมประมาณ 4- 5 ครั้ง สีจะติดทนนาน บางครั้งใส่จนเสื้อขาดแล้วก็ยังสีเข้มอยู่ เวลาเอามาตัดเย็บก็นิยมตัดเป็น ซ้ง กับ เสื้อ
 
การทำผ้าหม้อห้อมสมัยก่อนยังไม่มีถุงมือ ต้องทำด้วยมือ ต้องปลูกฝ้ายเอง ปลูกต้นคราม
ก็เอาฝ้ายมาปั่นเป็นเส้น ๆ เครื่องปั่นเรียกว่า หลา หรือ เถื่อน เอามาอีด เครื่องอีดมีลักษณะเป็นไม้ มี 2 ลำ เป็นวงกลม มีตอ มีหลัก 2 หลัก เวลาอีดจะหมุน ก็จะได้เป็นกำ แล้วเอามาใส่ เขาเรียก ก่องก้วง แล้วพอทำใด้ 10 กว่าหลอด แล้วก็เอาไปใส่โครง ทุกอย่างเป็นไม้ไม่ได้ลงทุนอะไร จนกว่าได้10 กว่าเส้นก็เอามามัดตามหลัก นับดูจนครบจำนวนเขาก็เอาออกมามัดมันจะมีความยาวมาก แล้วก็เอามากี่ ลายที่ทำขึ้นอยู่กับความคิดของคนทำ ลายดั้งเดิมคือลายสอง คือลายผ้าห่ม ผ้านวม แต่สมัยนี้เป็นสายน้ำไหล ลายน้ำฝน
เส้น 172 ⟶ 169:
ขั้นตอนการหมักน้ำห้อม (ใช้ต้นห้อม หรือ ต้นคราม)
อุปกรณ์
1. น้ำเปล่า 200 ลิตร
2. ต้นครามหรือต้นห้อม 10 กิโลกรัม
3. ปูนขาว 5 กิโลกรัม
4. เกลือ 5 กิโลกรัม
 
นำน้ำเปล่า ต้นคราม หรือ ต้นห้อม ปูนขาวและเกลือ ที่เตรียมไว้มาผสมลงในโอ่งขนาดใหญ่ หมักทิ้งไว้ 1 เดือน จากนั้นก็นำมาย้อมผ้า
เส้น 228 ⟶ 225:
"ช่วยส่งง" เป็นประเพณีของไทยพวนอย่างหนึ่ง "ช่วง" คงหมายถึงบริเวณที่โล่งแจ้งซึ่งกว้างพอสมควร พอที่จะเป็นบริเวณรวมคนได้ประมาณ 20 - 30 คน เพื่อจพะทำงานบางอย่างได้โดยทั่วไป "การลงบ่วง" หมายถึงการนัดหมายเพื่อนบ้านออกมาทำงานพร้อมกันและเป็นการนัดพบของคนหนุ่มใกล้เคียงกัน เช่น ล้องบ้านด้าน ล้องบ้านชั่ว เป็นต้น
ประเพณีลงช่วงมีจุดมุ่งหมายสำคัญอยู่ที่การได้พบปะพูดคุยกันของคนหนุ่มสาวเพราะประเพณีสมัยโบราณหนุ่มสาวมีโอกาสพบกันมาก งานที่นำมาทำขณะลงบ่วงนั้นส่วนใหญ่เป็นประเภทเบ็ดเตล็ด เช่น การทอผ้า ปั่นด้าย กระเทาะเปลือกถั่วลิสง(เตรียมไว้ปลูก) การซ้อมข้าว ฯลฯ และส่วนมากเป็นงานพื้นบ้าน
 
ก่อนการลงบ่วงจะมีการเก็บหลัว (เศษไม้ไผ่) เพื่อนำมาก่อเพื่อให้เกิดแสงสว่างในตอนเย็นสาวจะเดินเก็บหลัว (เพื่อบอกให้หนุ่มทราบว่าวันนี้จะมีการลงบ่วง) มากองรวมกันไว้บริเวณที่จะมีการลงบ่วง แล้วขึ้นบ้านประกอบอาหารก่อนแล้วจึงลงบ่วงหลังจากรับประทานอาหารและอาบน้ำแต่งตัวเสร็จประมาณ 2 ทุ่ม ก็จะช่วยกันก่อกองไฟ ทำงานที่จะทำลงมาจากบ้านและทำกันไปคุยกันไปเป็นที่สนุกสนาน จากนั้นหนุ่ม ๆ ในละแวกบ้านก็จะมาเดินเที่ยวกันเป็นกลุ่ม ๆ การมาของหนุ่ม ๆ อาจจะเป่าแคน เป่าปาก ร้องเพลง เป็นการให้เสียงล่วงหน้าเพื่อสาว ๆ จะได้เตรียมตัวต้อนรับ โดยการนำน้ำดื่มมาวางไว้บริเวณงานหรืออาจจะมีขนมหวานไว้ด้วย หนุ่มที่สนใจสาวอาจจะแยกเป็นคู่ ๆ จะมีบางกลุ่มร้องเพลงและคุยตลกขบขันเป็นที่น่าสนุกสนานตามประสาหนุ่มสาวจนประมาณ 5-6 ทุ่ม หนุ่มจะไปส่งสาวกลับบ้านแต่ในบางท้องที่การลงข่วงจะกระทำขึ้นที่บ้านของสาวนั่นเอง
 
เส้น 267 ⟶ 265:
จะมีการแห่นาคไปตามถนนเวียนไปตามบ้านปอย บ้านผู้เฒ่าผู้แก่ ผีเสื้อบ้าน สมัยก่อนจะจัดงานที่บ้าน เรียกว่า ปอยลูกแก้ว พอตอนเย็นก็จะทำขวัญนาค มีอาจารย์เป็นคนทำขวัญ พิธีทำขวัญอาจารย์จะพูดลำดับตั้งแต่นาคเกิดจนโตให้รู้จักบุญคุณพ่อแม่ที่ได้เลี้ยงดูมา
 
วันบวช จะมีการตักบาตรทำบุญที่วัดในตอนเช้า ตอนบ่าย ๆ ก็จะเริ่มพิธิบวช พิธีบวชก็จะกระทำโดยพระสงฆ์ พอบวชเสร็จก็จะอยู่กรรมอีก 7 วัน ต้องฉันอาหารมื้อเดียว ทำสมาธิ บริกรรม
วันบวช
จะมีการตักบาตรทำบุญที่วัดในตอนเช้า ตอนบ่าย ๆ ก็จะเริ่มพิธิบวช พิธีบวชก็จะกระทำโดยพระสงฆ์ พอบวชเสร็จก็จะอยู่กรรมอีก 7 วัน ต้องฉันอาหารมื้อเดียว ทำสมาธิ บริกรรม
 
วันขึ้นบ้านใหม่ นิยมขึ้นบ้านใหม่ในเดือนคู่ คือเดือน 4 เดือน 6 เดือน 8 เดือน 10 เดือน 12 เจ้าของบ้านจะต้องหาเอาวันดีเป็นวันขึ้นบ้านใหม่
วันขึ้นบ้านใหม่
นิยมขึ้นบ้านใหม่ในเดือนคู่ คือเดือน 4 เดือน 6 เดือน 8 เดือน 10 เดือน 12 เจ้าของบ้านจะต้องหาเอาวันดีเป็นวันขึ้นบ้านใหม่
วันดี คือวันที่เป็นสิริมงคล ได้แก่ วันขึ้น 1 ค่ำ 3 ค่ำ 6 ค่ำ 11 ค่ำ 13 ค่ำ
วันเสีย คือวันที่ห้ามทำการมงคล เป็นวันอื่น ๆ ที่นอกเหนือจากวันดี
เส้น 277 ⟶ 273:
ก่อนจะขึ้นบ้านใหม่ต้องเตรียมงานหลายเดือน สมมุติถ้าจะขึ้นบ้านใหม่ในเดือน 6 ต้องเตรียมงานตั้งแต่เดือน 4 ต้องเตรียมนิมนต์พระ เตรียมของ คืนก่อนวันงานขึ้นบ้านใหม่จะต้องมีการนิมนต์พระสงฆ์มาทำพิธีสวดเบิก เพื่อให้เป็นสิริมงคลแก่บ้าน
 
วันขึ้นบ้านใหม่ จะนิมนต์พระมา 9 รูป มาตักบาตรทำบุญกันที่บ้าน แล้วก็จะมีพิธีสืบชะตา การทำพิธีสืบชะตา 1. ต้องใช้ไม้ง่าม เอามากระโจมกัน 109 อัน โดยมีไม้ยาว ๆ 3 อัน มัดกระโจมกันไว้ แล้วที่เหลือเป็นไม้สั้น ๆ แบ่งเป็น 3 ส่วน แต่ละส่วนก็จะไปกระโจมไว้ที่ไม้ยาว ๆ 3 อันนั้น เขาเรียกกันว่า ไม้ค้ำศรี ค้ำโพธิ 2. ต้องมีต้นกล้วย ต้นอ้อย มะพร้าวทลาย หน่อกล้วย หน่ออ้อย หน่อหมาก ขันหมาก น้ำต้น เสื่อแดง หมอน มีการทำกระทงสี่เหลี่ยน ข้างวางไว้ใต้ไม้ค้ำศรี ค้ำโพธิ ภายในกระทงประกอบด้วย ขนม ข้าวเหนียว เอา 109 ก้อน อ้อย 109 อัน บุหรี่ 109 อัน ทุกอย่างต้อง 109 ทั้งหมด หมายถึง ความก้าวหน้า พระสงฆ์จะเป็นคนสวดทำพิธีสืบชะตา
วันขึ้นบ้านใหม่
จะนิมนต์พระมา 9 รูป มาตักบาตรทำบุญกันที่บ้าน แล้วก็จะมีพิธีสืบชะตา การทำพิธีสืบชะตา 1. ต้องใช้ไม้ง่าม เอามากระโจมกัน 109 อัน โดยมีไม้ยาว ๆ 3 อัน มัดกระโจมกันไว้ แล้วที่เหลือเป็นไม้สั้น ๆ แบ่งเป็น 3 ส่วน แต่ละส่วนก็จะไปกระโจมไว้ที่ไม้ยาว ๆ 3 อันนั้น เขาเรียกกันว่า ไม้ค้ำศรี ค้ำโพธิ 2. ต้องมีต้นกล้วย ต้นอ้อย มะพร้าวทลาย หน่อกล้วย หน่ออ้อย หน่อหมาก ขันหมาก น้ำต้น เสื่อแดง หมอน มีการทำกระทงสี่เหลี่ยน ข้างวางไว้ใต้ไม้ค้ำศรี ค้ำโพธิ ภายในกระทงประกอบด้วย ขนม ข้าวเหนียว เอา 109 ก้อน อ้อย 109 อัน บุหรี่ 109 อัน ทุกอย่างต้อง 109 ทั้งหมด หมายถึง ความก้าวหน้า พระสงฆ์จะเป็นคนสวดทำพิธีสืบชะตา
 
การเลือกวันขึ้นบ้านใหม่ให้ดูจากตำรา