ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กรดแล็กติก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Taksaporn BS (คุย | ส่วนร่วม)
กรดแลคติกหรือเกลือของกรดแลคติก ที่รู้จักในชื่อ แลคเตท
(ไม่แตกต่าง)

รุ่นแก้ไขเมื่อ 00:25, 11 กุมภาพันธ์ 2558

 กรดแลคติกหรือเกลือของกรดแลคติก ที่รู้จักในชื่อ แลคเตท ในธรรมชาติมี 2 รูปแบบ คือ

1.ไอโซเมอร์ชนิดแอล (L-(+)-lactic acid) และ 2. ไอโซเมอร์ชนิดดี (D-(+)-lactic acid) กรดแลคติก เป็นผลิตภัณฑ์จ าพวกสารเคมี ที่ใช้อย่างแพร่หลายโดยเฉพาะในอุตสาหกรรมยา ในปัจจุบันความ ต้องการใช้กรดแลคติกมีสูงมากขึ้น เนื่องจากกรดแลคติกสามารถถูกน าไปใช้เป็นโมโนเมอร์ ในการ ผลิตพอลิเมอร์พอลีแลคติกซึ่งเป็นพลาสติกแตกสลายทางชีวภาพได้ชนิดหนึ่ง เช่น ใช้ในการผลิต ไหมละลายที่ใช้เย็บแผลผ่าตัด เป็นต้น

กรดแลคติกที่นำไปใช้เป็นโมโนเมอร์ ในการผลิตพอลิเมอร์พอลีแลคติก ควรมีความบริสุทธ์

ของไครอลสูง ซึ่งจะช่วยให้อุณหภูมิของพอลิเมอร์เพิ่มสูงขึ้น เพื่อใช้ผลิตผลิตภัณฑ์จ าพวกเส้นใย ปัจจุบันการผลิตพอลีแลคติกจะใช้กรดแลคตริกที่เป็นไอโซเมอร์แอลเป็นหลัก ส่วนไอโซเมอร์ดียัง อยู่ในวงจ ากัด ซึ่งการผลิตกรดแลคตริกไอโซเมอร์ดีที่มีอยู่นั้น เป็นการผลิตโดยใช้เชื้อ Lactobacillus bulgaricus หมักกับอาหารเลี้ยงเชื้อที่ผสมน้ าตาลประเภทที่มี 6 หรือ 12 คาร์บอน เช่น กลูโคสและ แลคโตส ซึ่งมีข้อเสีย คือ มีต้นทุนการผลิตสูง [1]

  1. http://www.ip.kku.ac.th/categories/Technology/61_%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%98%E0%B8%B5%E0%B8%9C%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%94%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%84%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%81.pdf