ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แพนด้ายักษ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 6:
| image = Panda ChiangMaiZoo humarkus.jpg
| image_caption = [[ช่วงช่วง]], แพนด้ายักษ์ที่[[สวนสัตว์เชียงใหม่]]
 
| regnum = [[Animal]]ia
| phylum = [[Chordata]]
เส้น 25 ⟶ 26:
 
'''แพนด้ายักษ์''' หรือ '''ไจแอนท์แพนด้า''' ({{lang-en|Giant panda}}; {{ชื่อวิทยาศาสตร์|Ailuropoda melanoleuca}}) หรือที่นิยมเรียกว่า '''หมี[[แพนด้า]]''' เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมซึ่งปัจจุบันจัดอยู่ในวงศ์[[หมี]] (Ursidae) ถิ่นอาศัยอยู่ทางตอนใต้ของ[[สาธารณรัฐประชาชนจีน]] <ref>{{cite web | url = http://panda.org/about_wwf/what_we_do/species/our_solutions/endangered_species/giant_panda/index.cfm | title = Global Species Programme – Giant panda | publisher = [[กองทุนสัตว์ป่าโลก]] | date = 14 พ.ย. 2550 | accessdate = 22 ก.พ. 2551}}</ref> อาหารโปรดของแพนด้ายักษ์คือ[[ใบไผ่]] นอกนั้นจะเป็นหญ้าชนิดอื่น ๆ ลักษณะเฉพาะของแพนด้ายักษ์คือมีขนสีดำรอบดวงตา, ใบหู, บ่า และขาทั้งสี่ข้าง ส่วนอื่นประกอบด้วยขนสีขาว
 
ปัจจุบันแพนด้ายักษ์เป็นหนึ่งในสัตว์สายพันธุ์ที่ใกล้สูญพันธุ์มากที่สุดสายพันธุ์หนึ่งของโลก ตามรายงานล่าสุด<ref name="Xinhua1">{{cite news | url = http://news.xinhuanet.com/english/2007-11/08/content_7034856.htm | title = Number of pandas successfully bred in China down from last year | work = [[สำนักข่าวซินหัว|ซินหัว]] | date = 8 พ.ย. 2550 | accessdate = 22 ก.ค. 2551}}</ref> มีแพนด้าที่เลี้ยงในกรงเลี้ยง 239 ตัวอยู่ในจีน และอีก 27 ตัวอยู่ในต่างประเทศ มีการคาดการณ์ไว้ว่ามีแพนด้ายักษ์ประมาณ 1,590 ตัวอาศัยอยู่ตามธรรมชาติ<ref name="Xinhua1" /> อย่างไรก็ดี จากการศึกษาในปี [[ค.ศ. 2006]] ผ่านการ[[วิเคราะห์ดีเอ็นเอ]] สามารถประมาณการได้ว่าอาจจะมีแพนด้ายักษ์เป็นจำนวนถึง 2,000-3,000 ตัวอาศัยอยู่ตามธรรมชาติ<ref name="BBC_06-07">{{cite news|url=http://news.bbc.co.uk/2/hi/science/nature/5085006.stm |title=Hope for future of giant panda|work=[[บีบีซีนิวส์]]|date=20 มิ.ย. 2549|accessdate=14 ก.พ. 2550}}</ref> ซึ่งแสดงให้เห็นว่าจำนวนแพนด้าตามธรรมชาติเพิ่มจำนวนขึ้น<ref>[http://today.reuters.com/news/articlenews.aspx?type=topNews&storyID=2006-08-08T130946Z_01_PEK19201_RTRUKOC_0_US-CHINA-PANDA.xml&pageNumber=0&imageid=&cap=&sz=13&WTModLoc=NewsArt-C1-ArticlePage2 Giant panda gives birth to giant cub]</ref><ref name="pandasinc">{{cite news |first=Lynne |last=Warren |title=Pandas, Inc. |url=http://ngm.nationalgeographic.com/ngm/0607/feature1/?fs=animals-panther.nationalgeographic.com |publisher=[[นิตยสารเนชันแนลจีโอกราฟิก|เนชันแนลจีโอกราฟิก]] |date=[[กรกฎาคม พ.ศ. 2549|ก.ค. 2549]] |accessdate=10 เม.ย. 2551 }}</ref> [[สหภาพนานาชาติเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติและทรัพยากรธรรมชาติ]]เชื่อว่าข้อมูลดังกล่าวยังไม่มีความแน่นอนพอที่จะย้ายชื่อแพนด้ายักษ์ออกจากบัญชีรายชื่อสัตว์ที่ใกล้สูญพันธุ์<ref>{{cite news|title=Concern grows for smallest bear|url=http://news.bbc.co.uk/2/hi/science/nature/7087345.stm |work = บีบีซีนิวส์|date= 12 พ.ย. 2550|accessdate = 22 ก.ค. 2551}}</ref>
 
== ลักษณะทั่วไป ==
เส้น 37 ⟶ 36:
หมีแพนด้ามีอุ้งตีนที่ผิดจากธรรมดา คือมีนิ้วหัวแม่มือและมีนิ้วอีก 5 นิ้ว นิ้วหัวแม่มือที่จริงแล้วมาจากการปรับปรุงรูปแบบของกระดูกข้อต่อ [[สตีเฟน เจย์ กาวลด์]] ได้เขียนบทความเกี่ยวกับเรื่องนี้ไว้ โดยมีชื่อเรื่องว่า ''The Panda's Thumb'' หรือ ''นิ้วหัวแม่มือของแพนด้า'' หางของแพนด้ายักษ์นั้นสั้นมาก โดยมีความยาวประมาณ 15 เซนติเมตร
 
==การค้นพบ==
[[ไฟล์:Lightmatter panda.jpg|thumb|left|250px|[[เกาเกา]], แพนด้าเพศผู้ที่[[สวนสัตว์ซานดิเอโก]]]]
แพนด้ายักษ์ เป็นที่รู้จักในตะวันตกเป็นครั้งแรก ในปี [[ค.ศ. 1869]] โดยมิชชันนารีชาวฝรั่งเศส [[Armand David|อาร์มันด์ เดวิด]] ผู้ซึ่งได้รับหนังของแพนด้ามาจากนายพรานเมื่อวันที่ [[11 มีนาคม]] [[ค.ศ. 1869]] ส่วนชาวตะวันตกคนแรกที่เป็นที่รู้จักว่าเห็นแพนด้ายักษ์ที่ยังมีชีวิตคือนักสัตว์วิทยาเยอรมัน [[ฮิวโก เวยโกลด์]] เขาซื้อลูกของมันมาในปี [[ค.ศ. 1916]] [[เคอร์มิท รูสเวลท์|เคอร์มิท]] และ [[ธีโอดอร์ รูสเวลท์ จูเนียร์]] ได้เป็นชาวต่างชาติแรก ที่ยิงแพนด้าในการเดินทางศึกษาที่ประเทศจีน เพื่อนำไป[[สตัฟฟ์]]และใช้ในการศึกษาที่[[พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ธรรมชาติ ฟิลด์]] ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1920 ในปี [[ค.ศ. 1936]] [[รุธ ฮาร์คเนส]] เป็นชาวตะวันตกคนแรก ที่นำเข้าแพนด้ายักษ์ที่มีชีวิตมายัง[[สหรัฐอเมริกา|สหรัฐฯ]] เป็นลูกแพนด้าชื่อซู-ลิน โดยนำมาเลี้ยงที่สวนสัตว์บรูคฟิลด์ใน[[ชิคาโก]]
 
==สถานะ==
ปัจจุบันแพนด้ายักษ์เป็นหนึ่งในสัตว์สายพันธุ์ที่ใกล้สูญพันธุ์มากที่สุดสายพันธุ์หนึ่งของโลก ตามรายงานล่าสุด<ref name="Xinhua1">{{cite news | url = http://news.xinhuanet.com/english/2007-11/08/content_7034856.htm | title = Number of pandas successfully bred in China down from last year | work = [[สำนักข่าวซินหัว|ซินหัว]] | date = 8 พ.ย. 2550 | accessdate = 22 ก.ค. 2551}}</ref> มีแพนด้าที่เลี้ยงในกรงเลี้ยง 239 ตัวอยู่ในจีน และอีก 27 ตัวอยู่ในต่างประเทศ มีการคาดการณ์ไว้ว่ามีแพนด้ายักษ์ประมาณ 1,590 ตัวอาศัยอยู่ตามธรรมชาติ<ref name="Xinhua1" /> อย่างไรก็ดี จากการศึกษาในปี [[ค.ศ. 2006]] ผ่านการ[[วิเคราะห์ดีเอ็นเอ]] สามารถประมาณการได้ว่าอาจจะมีแพนด้ายักษ์เป็นจำนวนถึง 2,000-3,000 ตัวอาศัยอยู่ตามธรรมชาติ<ref name="BBC_06-07">{{cite news|url=http://news.bbc.co.uk/2/hi/science/nature/5085006.stm |title=Hope for future of giant panda|work=[[บีบีซีนิวส์]]|date=20 มิ.ย. 2549|accessdate=14 ก.พ. 2550}}</ref> ซึ่งแสดงให้เห็นว่าจำนวนแพนด้าตามธรรมชาติเพิ่มจำนวนขึ้น<ref>[http://today.reuters.com/news/articlenews.aspx?type=topNews&storyID=2006-08-08T130946Z_01_PEK19201_RTRUKOC_0_US-CHINA-PANDA.xml&pageNumber=0&imageid=&cap=&sz=13&WTModLoc=NewsArt-C1-ArticlePage2 Giant panda gives birth to giant cub]</ref><ref name="pandasinc">{{cite news |first=Lynne |last=Warren |title=Pandas, Inc. |url=http://ngm.nationalgeographic.com/ngm/0607/feature1/?fs=animals-panther.nationalgeographic.com |publisher=[[นิตยสารเนชันแนลจีโอกราฟิก|เนชันแนลจีโอกราฟิก]] |date=[[กรกฎาคม พ.ศ. 2549|ก.ค. 2549]] |accessdate=10 เม.ย. 2551 }}</ref> [[สหภาพนานาชาติเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติและทรัพยากรธรรมชาติ]]เชื่อว่าข้อมูลดังกล่าวยังไม่มีความแน่นอนพอที่จะย้ายชื่อแพนด้ายักษ์ออกจากบัญชีรายชื่อสัตว์ที่ใกล้สูญพันธุ์<ref>{{cite news|title=Concern grows for smallest bear|url=http://news.bbc.co.uk/2/hi/science/nature/7087345.stm |work = บีบีซีนิวส์|date= 12 พ.ย. 2550|accessdate = 22 ก.ค. 2551}}</ref>
 
แพนด้ายักษ์ถือเป็นสัญลักษณ์ทางการทูตอย่างหนึ่งของจีน จะเห็นได้ว่าจีนส่งหมีแพนด้าไปยังสวนสัตว์[[สหรัฐอเมริกา]] และ [[ประเทศญี่ปุ่น|ญี่ปุ่น]] ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1970 โดยการให้ยืม ซึ่งเป็นเครื่องหมายการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมระหว่างจีนและชาติตะวันตก การปฏิบัติเป็นธรรมเนียมเช่นนี้ทำให้มีคนเรียกแพนด้าว่า "ทูตสันถวไมตรี"
 
อย่างไรก็ตาม ตั้งแต่ปี [[ค.ศ. 1984]] ไม่มีการใช้หมีแพนด้าในฐานะทูตสันถวไมตรีอีกต่อไป แต่จีนมีการเสนอที่จะส่งแพนด้ายักษ์ไปยังชาติอื่นโดยให้ยืมเป็นเวลา 10 ปี โดยต้องจ่ายค่าธรรมเนียมพื้นฐานปีละ 1,000,000 [[ดอลลาร์สหรัฐ]] และมีข้อกำหนดว่าลูกของแพนด้ายักษ์ใด ๆ ที่เกิดระหว่างการยืมนั้น ถือเป็นทรัพย์สินของ[[สาธารณรัฐประชาชนจีน]]
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
== ดูเพิ่ม ==
เส้น 48 ⟶ 54:
{{คอมมอนส์|Giant Panda}}
{{wikispecies-inline|Ailuropoda melanoleuca}}
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
[[หมวดหมู่:แพนด้ายักษ์| ]]