ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นิเวศวิทยา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tchaianunporn (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tchaianunporn (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ไขการใช้คำในย่อหน้าที่สามให้ถูกต้อง
บรรทัด 15:
* จำนวนและการกระจายของสิ่งมีชีวิตและความหลากหลายทางชีวภาพในบริบทของสภาพแวดล้อม
 
นิเวศวิทยาเป็นวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์เช่นเดียวกัน มีการนำระบบนิเวศวิทยาไปประยุกต์ใช้ในทางปฏิบัติจำนวนมากด้านชีววิทยาอนุรักษ์ การจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ (เช่น นิเวศเกษตร ({{lang-en|agroecology}}) เกษตรกรรม ป่าไม้ วนเกษตร ประมง) ผังเมือง (นิเวศวิทยาในชุมชนเมือง), สุขภาพชุมชน เศรษฐศาสตร์ วิทยาศาสตร์พื้นฐานและวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ({{lang-en|applied science}}) และการปฏิสัมพันธ์ทางสังคมของมนุษย์ (นิเวศวิทยาของมนุษย์) ตัวอย่างเช่น วิธีการที่เรียกว่า "วงกลมของความยั่งยืน" ({{lang-en|Circles of Sustainability}}) ซึ่งจะปฏิบัติต่อมีการใส่ใจถึงนิเวศวิทยาให้เป็นมากกว่าแค่เป็นสิ่งแวดล้อมรอบๆ 'ข้างนอกนั้น' มันจะถูกปฏิบัติแยกต่างหากจากมนุษย์ ตัว สิ่งมีชีวิต (รวมทั้งมนุษย์) และทรัพยากร ประกอบขึ้นเป็นระบบนิเวศซึ่งเป็นผลให่ให้มีการรักษาระดับกลไกการฟีดแบ็คทางชีวฟิสิกส์ที่ควบคุมกระบวนการที่กระทำต่อองค์ประกอบของโลกที่เป็นชีวนะชีวภาพ ({{lang-en|biotic}}) และอชีวนะกายภาพ ({{lang-en|abiotic}}) ระบบนิเวศทั้งหลายให้มีความยั่งยืนกับฟังก์ชันสำคัญต่อการสนับสนุนอยู่รอดของสิ่งมีชีวิตอย่างยั่งยืนและสร้างทุนทางธรรมชาติ เช่น การผลิตชีวมวล (อาหาร เชื้อเพลิง เส้นใยและยา) กฎระเบียบของควบคุมสภาพภูมิอากาศ วัฏจักรของชีวดินธรณีเคมี ({{lang-en|biogeochemical}}) ของโลก การกรองน้ำ การก่อตัวของดิน การควบคุมการชะล้างพังทลาย การป้องกันน้ำท่วมและลักษณะทางธรรมชาติอื่นๆอีกมากมายของ ที่มีมูลค่าทางวิทยาศาสตร์ ประวัติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ หรือมูลค่าที่แท้จริงภายในตัวมันเอง
 
==ระดับบูรณาการ ขอบเขต และขนาดขององค์กร==