ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สะพานมหาเจษฎาบดินทรานุสรณ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nonthaburi (คุย | ส่วนร่วม)
Nonthaburi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล สะพาน
| bridge_name = สะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา<br/>บริเวณถนนนนทบุรี 1มหาเจษฎาบดินทร์
| native_name =
| image = B1.png
| image_size = 300
| caption =
| caption = สะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา<br/>บริเวณถนนนนทบุรี 1 เมื่อก่อสร้างเสร็จ
| official_name = สะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา บริเวณถนนนนทบุรี 1มหาเจษฎาบดินทร์
| carries = [[ถนนท่าน้ำนนทบุรี 1]], ถนนตัดใหม่ไป[[ถนนราชพฤกษ์-วัดโบสถ์ดอนพรหม]]
| crosses = [[แม่น้ำเจ้าพระยา]]
| locale = [[อำเภอเมืองนนทบุรี]] [[จังหวัดนนทบุรี]]
บรรทัด 42:
[[ไฟล์:Bn2.jpg|thumb|300px|ทัศนียภาพบริเวณใต้สะพาน]]
 
'''สะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา บริเวณถนนนนทบุรี 1มหาเจษฎาบดินทร์''' หรือที่เรียกกันติดปากว่า({{lang-en|Maha '''สะพานนนทบุรีJessada 1'''Bodin Bridge}}) เป็นสะพานข้าม[[แม่น้ำเจ้าพระยา]]แห่งที่ 18 ในเขต[[กรุงเทพมหานครและปริมณฑล]] ตั้งอยู่ในเขต[[อำเภอเมืองนนทบุรี]] [[จังหวัดนนทบุรี]] เชื่อมพื้นที่[[ตำบลสวนใหญ่]] (ฝั่งตะวันออก) เข้ากับ[[ตำบลบางศรีเมือง]] (ฝั่งตะวันตก) โดยเริ่มต้นจากปลายสะพานทางแยกต่างระดับบน[[ถนนนนทบุรี 1]] ใกล้[[โรงเรียนศรีบุณยานนท์]] ข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาในท้องที่หมู่ที่ 2 ตำบลสวนใหญ่ ทางด้านใต้ของชุมชนตลาดขวัญและ[[ท่าพิบูลสงคราม 4|ท่าเรือพิบูลสงคราม 4]] โดยวางตัวไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้และขึ้นฝั่งตะวันตกบริเวณปาก[[คลองอ้อม]]ฝั่งใต้ ระหว่างศาลเจ้าพ่อหลักเมือง (เดิม) ที่อยู่ทางเหนือกับ[[อุทยานเฉลิมกาญจนาภิเษก]]ที่อยู่ทางใต้ ในท้องที่หมู่ที่ 3 บ้านท่าน้ำนนท์ ตำบลบางศรีเมือง เส้นทางจากนั้นเป็นแนวถนนตัดใหม่ซึ่งมุ่งไปสู่ทางแยกต่างระดับที่[[ถนนราชพฤกษ์]]
 
== ข้อมูลทั่วไป ==
สะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยามหาเจษฎาบดินทร์ บริเวณถนนนนทบุรี 1 มีขนาดเป็นสะพานคานขึงจำนวนช่องทางรถวิ่ง 6 ช่องจราจร ช่องจราจรละ 3.50 เมตรทาง ความยาว 460 เมตร (ช่วงกลางสะพานระหว่างตอม่อยาว 200 เมตร และช่วงข้างสะพานยาวด้านละ 130 เมตร)<ref name="วารสารกรมทางหลวงชนบท">กรมทางหลวงชนบท. กลุ่มประชาสัมพันธ์และเผยแพร่. "กรมทางหลวงชนบท เผยโครงการสะพานนนทบุรี 1 คืบหน้ากว่า 50%." ''วารสารกรมทางหลวงชนบท'' 10, 12 (2556): 4.</ref> มีเสาใหญ่ (pylon) เป็นเสาคอนกรีต 2 ต้น สูงจากพื้นสะพานประมาณ 45 เมตร (รวมยอดประดับ) เสาแต่ละต้นขึงสายเคเบิลไว้ 12 คู่ มีตอม่อซึ่งเป็นที่ตั้งเสาใหญ่ตั้งอยู่ในน้ำ 1 ตอม่อ อยู่บนบกริมฝั่งตะวันตกของแม่น้ำ 1 ตอม่อ และมีช่องลอดสำหรับการสัญจรทางน้ำกว้าง 150 เมตร สูง 5.60 เมตร<ref name="วารสารกรมทางหลวงชนบท"/>
 
โครงสร้างของสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา บริเวณถนนนนทบุรี 1มหาเจษฎาบดินทร์ เป็น[[สะพานคานขึง]] (extradosed prestressed concrete bridge)<ref name="วารสารกรมทางหลวงชนบท"/> ซึ่งมีลักษณะผสมระหว่าง[[สะพานขึง|สะพานเคเบิลขึง]]กับสะพานคานคอนกรีตอัดแรง (girder bridge) ก่อนหน้านี้ไม่เคยมีการก่อสร้างสะพานคานขึงในประเทศไทย<ref name="ไทยรัฐ"/><ref name="การออกแบบสะพานและภูมิสถาปัตย์">กรมทางหลวงชนบท. โครงการก่อสร้างสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา บริเวณถนนนนทบุรี 1. "การออกแบบสะพานและภูมิสถาปัตย์." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://203.151.234.15/~nonthabu/nonthaburi_th/index.php/component/content/article/79-2012-08-01-12-56-32/75-2012-08-01-13-21-35 [ม.ป.ป.]. สืบค้น 4 ธันวาคม 2557.</ref> สาเหตุที่เลือกสร้างสะพานรูปแบบนี้เนื่องจากพื้นที่โครงการเป็นพื้นที่ต่ำ ไม่เหมาะสมที่จะสร้างเป็นสะพานคอนกรีตที่ใช้ตอม่อเป็นตัวรับน้ำหนักสะพานเพียงอย่างเดียว เพราะจะทำให้พื้นสะพานหนาขึ้นและเหลือช่องลอดต่ำ ไม่เช่นนั้นก็ต้องสร้างสะพานให้สูงขึ้นซึ่งต้องใช้พื้นที่เชิงลาดมากขึ้นและจะส่งผลกระทบต่อประชาชนในพื้นที่มากขึ้น<ref name="วีดิทัศน์">Daoreuk Studio. "วีดิทัศน์ประกอบการเปิดให้ประชาชนใช้สะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา บริเวณถนนนนทบุรี 1 อย่างไม่เป็นทางการ." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: https://www.youtube.com/watch?v=NGTc5kmCYa4 2557. สืบค้น 26 ธันวาคม 2557.</ref> หากสร้างเป็นสะพานขึงซึ่งใช้เสาใหญ่และสายเคเบิลเป็นตัวรับน้ำหนักสะพาน แม้พื้นสะพานจะบางกว่า แต่จะทำให้งบประมาณการก่อสร้างสูงขึ้นมาก
 
ผู้ออกแบบสะพานได้นำ[[สถาปัตยกรรมไทยประยุกต์]][[สมัยรัตนโกสินทร์]]มาใช้เป็นแนวคิดหลักในการออกแบบเพื่อสร้างความเป็นเอกลักษณ์ให้กับตัวสะพาน กล่าวคือ ยอดประดับของเสาใหญ่ทั้งสองต้นมีรูปทรงดอกบัวบานและมีแกนกลางเป็นดอกบัวตูมเปล่งแสงสว่าง เปรียบเสมือนแสงแห่งปัญญาตามหลักศาสนา<ref name="การออกแบบสะพานและภูมิสถาปัตย์"/> อีกนัยหนึ่งรูปทรงดังกล่าวยังเปรียบเสมือน[[พระมหาพิชัยมงกุฎ]] แสดงถึงการเทิดทูนพระมหากรุณาธิคุณของพระมหากษัตริย์แห่ง[[ราชวงศ์จักรี]]<ref name="วีดิทัศน์"/> นอกจากนี้ ยังมีการประดับตัวสะพานด้วยเสาไฟซึ่งออกแบบตามสถาปัตยกรรมไทยประยุกต์ร่วมสมัยเช่นกัน
 
== ประวัติ ==
สะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา บริเวณถนนนนทบุรี 1มหาเจษฎาบดินทร์ สร้างขึ้นตามโครงการก่อสร้างสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา บริเวณถนนนนทบุรี 1 กับสร้างและขยายถนนต่อเชื่อม ซึ่งที่ประชุมคณะกรรมการจัดระบบการจราจรทางบก ครั้งที่ 1/2547 เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2547 มีมติมอบหมายให้[[กรมทางหลวงชนบท]]รับผิดชอบดำเนินการเพื่อแก้ไขปัญหาการจราจรในเขตจังหวัดนนทบุรีและ[[กรุงเทพมหานคร]]ตอนบน<ref name="ความเป็นมาของโครงการ">กรมทางหลวงชนบท. โครงการก่อสร้างสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา บริเวณถนนนนทบุรี 1. "ความเป็นมาของโครงการ." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://203.151.234.15/~nonthabu/nonthaburi_th/index.php/ความเป็นมาโครงการ [ม.ป.ป.]. สืบค้น 4 ธันวาคม 2557.</ref> เนื่องจากการพัฒนาการใช้ประโยชน์ที่ดินและการขยายตัวของชุมชนเมืองโดยเฉพาะในพื้นที่ฝั่งตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยาได้ส่งผลให้ปริมาณการจราจรบนเส้นทางที่เชื่อมระหว่างสองฝั่งแม่น้ำมีสภาพหนาแน่นขึ้นมาก อีกทั้งเพื่อเป็นการปรับปรุงโครงข่ายเส้นทางคมนาคมในพื้นที่ดังกล่าวให้มีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น สอดคล้องตามยุทธศาสตร์การพัฒนา[[กรุงเทพมหานครและปริมณฑล]]ให้สามารถรองรับการขยายตัวอย่างต่อเนื่องของชุมชน
 
กรมทางหลวงชนบทจึงได้ว่าจ้างกลุ่มที่ปรึกษาเพื่อศึกษาความเหมาะสมและศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม สำรวจออกแบบรายละเอียด และสำรวจอสังหาริมทรัพย์ ตลอดจนออกพระราชกฤษฎีกาเวนคืนอสังหาริมทรัพย์เมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2549<ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=เล่ม 123|issue=ตอนที่ 46 ก|pages=หน้า 5-7|title=พระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืน ในท้องที่ตำบลตลาดขวัญ ตำบลสวนใหญ่ ตำบลบางศรีเมือง และตำบลบางกร่าง อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี พ.ศ. ๒๕๔๙|url=|date=3 พฤษภาคม 2549|language=}}</ref> โดยเริ่มดำเนินการเวนคืนตั้งแต่เดือนตุลาคม ปีเดียวกัน จนแล้วเสร็จเมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ. 2551<ref name="ความเป็นมาของโครงการ"/> แหล่งเงินทุนในการดำเนินการก่อสร้างโครงการประกอบด้วยเงินงบประมาณจากรัฐบาลไทยและเงินกู้จาก[[องค์การความร่วมมือระหว่างประเทศของญี่ปุ่น]] (JICA) ในอัตราส่วน 30 ต่อ 70 จากนั้นกรมทางหลวงชนบทได้เปิดประกวดราคาเพื่อคัดเลือกผู้รับจ้างและได้ทำสัญญาว่าจ้างกิจการร่วมค้าไอทีดี-เอสเอ็มซีซี (อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ และสุมิโตโม มิตซุย คอนสตรัคชั่น) ให้เริ่มก่อสร้างตั้งแต่วันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2555 ระยะเวลาก่อสร้างรวม 30 เดือน มีกำหนดแล้วเสร็จในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2557<ref name="ความเป็นมาของโครงการ"/> ภายหลังได้ขยายระยะเวลาก่อสร้างออกไปจนถึงวันที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2558 แต่ก็สร้างเสร็จและสามารถเปิดให้ประชาชนทดลองใช้ได้ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2557<ref name="ทีมข่าวภูมิภาค">ทีมข่าวภูมิภาค. "คนนนท์ฯ เฮ! 'สะพานนนทบุรี 1' สร้างเสร็จพร้อมเปิดใช้." ''ไทยรัฐ.'' [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.thairath.co.th/content/471286 2557. สืบค้น 26 ธันวาคม 2557.</ref> นับเป็นสะพานรถยนต์ข้ามแม่น้ำสะพานที่ 7 ในเขตจังหวัดนนทบุรี
 
สะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา บริเวณถนนนนทบุรี 1มหาเจษฎาบดินทร์ จะช่วยอำนวยความสะดวกให้กับประชาชนที่จะเดินทางสัญจรไปมาระหว่างพื้นที่ฝั่งตะวันออกกับฝั่งตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยาในเขตจังหวัดนนทบุรี นอกจากนี้ยังจะช่วยระบายความหนาแน่นของการจราจรจากเส้นทางข้างเคียงโดยรอบ ไม่ว่าจะเป็น[[ถนนรัตนาธิเบศร์]] [[ถนนงามวงศ์วาน]] [[ถนนติวานนท์]] หรือ[[ถนนนครอินทร์]] และจะช่วยแบ่งเบาการจราจรบนสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาที่มีอยู่ในปัจจุบัน ได้แก่ [[สะพานพระนั่งเกล้า]]ซึ่งมีปริมาณจราจรเฉลี่ย 54,568 คันต่อวัน [[สะพานคู่ขนานสะพานพระนั่งเกล้า]]ซึ่งมีปริมาณจราจรเฉลี่ย 139,776 คันต่อวัน และ[[สะพานพระราม 5]] ซึ่งมีปริมาณจราจรเฉลี่ย 96,550 คันต่อวัน<ref>ทีมข่าวกทม.-จราจร. "เปิดสะพานข้ามเจ้าพระยาแห่งใหม่ ‘สะพานนนทบุรี 1’." ''เดลินิวส์.'' [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.dailynews.co.th/Content/bangkok/289694/เปิดสะพานข้ามเจ้าพระยาแห่งใหม่+‘สะพานนนทบุรี 1’ 2557. สืบค้น 26 ธันวาคม 2557.</ref> โดยคาดว่าสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา บริเวณถนนนนทบุรี 1 จะสามารถรองรับปริมาณรถได้ประมาณวันละ 45,000-50,000 คันต่อวัน<ref name="ทีมข่าวภูมิภาค"/><ref name="ไทยรัฐ">ทีมข่าวกทม. "นนทบุรี 1 สะพานข้ามแม่น้ำรูปลักษณ์ใหม่." ''ไทยรัฐ.'' [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.thairath.co.th/content/456347 2557. สืบค้น 4 ธันวาคม 2557.</ref>
 
== ลักษณะ ==
สะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา บริเวณถนนนนทบุรี 1 มีขนาด 6 ช่องจราจร ช่องจราจรละ 3.50 เมตร ความยาว 460 เมตร (ช่วงกลางสะพานระหว่างตอม่อยาว 200 เมตร และช่วงข้างสะพานยาวด้านละ 130 เมตร)<ref name="วารสารกรมทางหลวงชนบท">กรมทางหลวงชนบท. กลุ่มประชาสัมพันธ์และเผยแพร่. "กรมทางหลวงชนบท เผยโครงการสะพานนนทบุรี 1 คืบหน้ากว่า 50%." ''วารสารกรมทางหลวงชนบท'' 10, 12 (2556): 4.</ref> มีเสาใหญ่ (pylon) เป็นเสาคอนกรีต 2 ต้น สูงจากพื้นสะพานประมาณ 45 เมตร (รวมยอดประดับ) เสาแต่ละต้นขึงสายเคเบิลไว้ 12 คู่ มีตอม่อซึ่งเป็นที่ตั้งเสาใหญ่ตั้งอยู่ในน้ำ 1 ตอม่อ อยู่บนบกริมฝั่งตะวันตกของแม่น้ำ 1 ตอม่อ และมีช่องลอดสำหรับการสัญจรทางน้ำกว้าง 150 เมตร สูง 5.60 เมตร<ref name="วารสารกรมทางหลวงชนบท"/>
 
โครงสร้างของสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา บริเวณถนนนนทบุรี 1 เป็น[[สะพานคานขึง]] (extradosed prestressed concrete bridge)<ref name="วารสารกรมทางหลวงชนบท"/> ซึ่งมีลักษณะผสมระหว่าง[[สะพานขึง|สะพานเคเบิลขึง]]กับสะพานคานคอนกรีตอัดแรง (girder bridge) ก่อนหน้านี้ไม่เคยมีการก่อสร้างสะพานคานขึงในประเทศไทย<ref name="ไทยรัฐ"/><ref name="การออกแบบสะพานและภูมิสถาปัตย์">กรมทางหลวงชนบท. โครงการก่อสร้างสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา บริเวณถนนนนทบุรี 1. "การออกแบบสะพานและภูมิสถาปัตย์." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://203.151.234.15/~nonthabu/nonthaburi_th/index.php/component/content/article/79-2012-08-01-12-56-32/75-2012-08-01-13-21-35 [ม.ป.ป.]. สืบค้น 4 ธันวาคม 2557.</ref> สาเหตุที่เลือกสร้างสะพานรูปแบบนี้เนื่องจากพื้นที่โครงการเป็นพื้นที่ต่ำ ไม่เหมาะสมที่จะสร้างเป็นสะพานคอนกรีตที่ใช้ตอม่อเป็นตัวรับน้ำหนักสะพานเพียงอย่างเดียว เพราะจะทำให้พื้นสะพานหนาขึ้นและเหลือช่องลอดต่ำ ไม่เช่นนั้นก็ต้องสร้างสะพานให้สูงขึ้นซึ่งต้องใช้พื้นที่เชิงลาดมากขึ้นและจะส่งผลกระทบต่อประชาชนในพื้นที่มากขึ้น<ref name="วีดิทัศน์">Daoreuk Studio. "วีดิทัศน์ประกอบการเปิดให้ประชาชนใช้สะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา บริเวณถนนนนทบุรี 1 อย่างไม่เป็นทางการ." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: https://www.youtube.com/watch?v=NGTc5kmCYa4 2557. สืบค้น 26 ธันวาคม 2557.</ref> หากสร้างเป็นสะพานขึงซึ่งใช้เสาใหญ่และสายเคเบิลเป็นตัวรับน้ำหนักสะพาน แม้พื้นสะพานจะบางกว่า แต่จะทำให้งบประมาณการก่อสร้างสูงขึ้นมาก
 
* '''วันที่ทำการก่อสร้าง :''' วันที่ [[2 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2555]]
ผู้ออกแบบสะพานได้นำ[[สถาปัตยกรรมไทยประยุกต์]][[สมัยรัตนโกสินทร์]]มาใช้เป็นแนวคิดหลักในการออกแบบเพื่อสร้างความเป็นเอกลักษณ์ให้กับตัวสะพาน กล่าวคือ ยอดประดับของเสาใหญ่ทั้งสองต้นมีรูปทรงดอกบัวบานและมีแกนกลางเป็นดอกบัวตูมเปล่งแสงสว่าง เปรียบเสมือนแสงแห่งปัญญาตามหลักศาสนา<ref name="การออกแบบสะพานและภูมิสถาปัตย์"/> อีกนัยหนึ่งรูปทรงดังกล่าวยังเปรียบเสมือน[[พระมหาพิชัยมงกุฎ]] แสดงถึงการเทิดทูนพระมหากรุณาธิคุณของพระมหากษัตริย์แห่ง[[ราชวงศ์จักรี]]<ref name="วีดิทัศน์"/> นอกจากนี้ ยังมีการประดับตัวสะพานด้วยเสาไฟซึ่งออกแบบตามสถาปัตยกรรมไทยประยุกต์ร่วมสมัยเช่นกัน
* '''วันเปิดการจราจร :''' วันที่ [[26 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2557]]
* '''บริษัทที่ทำการก่อสร้าง :''' บริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวลอปเมนต์ จำกัด (มหาชน)
* '''ราคาค่าก่อสร้าง :''' 6,915,000,000 บาท
* '''แบบของสะพาน :''' เป็นสะพานชนิดต่อเนื่อง
* '''โครงสร้างส่วนบน :''' คานขึง
* '''สูงจากระดับน้ำ :''' 5.60 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง
* '''จำนวนช่วงสะพานกลางน้ำ :''' 3 ช่วง (130.00+200.00+130.00)
* '''ความกว้างของสะพาน :''' 29.10 เมตร (2 * 14.55)
* '''ความยาวของสะพาน :''' 460 เมตร
* '''เชิงลาดสะพาน ฝั่งธนบุรี :''' 95 เมตร
* '''เชิงลาดสะพาน ฝั่งพระนคร :''' 95 เมตร
* '''รวมความยาวทั้งหมด :''' 460 เมตร
* '''จำนวนช่องทางวิ่ง:''' 6 ช่องทางจราจร (ด้านละ 3 ช่องจราจร)
* '''ความกว้างผิวจราจรสะพาน :''' 21.00 เมตร(6 * 3.50 )
* '''ความกว้างของสะพาน :''' 29.10 เมตร
* '''ความกว้างของทางเท้าแต่ละด้าน :''' 2.50 เมตร
* '''ออกแบบรับน้ำหนัก :''' H-20-44
* '''จำนวนช่องทางวิ่ง :''' 3 ช่องทางจราจร (ของแต่ละสะพาน)
* '''ความกว้างช่องละ :''' 3.50 เมตร
* '''ทางเท้ากว้าง :''' 2.50 เมตร
 
== อ้างอิง ==
เส้น 64 ⟶ 89:
* [http://www.nonthaburi1bridge.com โครงการก่อสร้างสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา บริเวณถนนนนทบุรี 1] สำนักก่อสร้างสะพาน กรมทางหลวงชนบท
{{geolinks-bldg|13.853372|100.480399}}
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[ถนนนนทบุรี 1]]
* [[ถนนท่น้ำนนทบุรี - วัดโบสถ์ดอนพรหม]]
 
{{กล่องสะพานข้าม
| โครงสร้าง = สะพาน
| สถานที่ = [[แม่น้ำเจ้าพระยา]]
| สะพาน = สะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา บริเวณถนนนนทบุรี 1มหาเจษฎาบดินทร์
| สัญลักษณ์สะพาน =
| เหนือ = [[สะพานพระนั่งเกล้า]]
เส้น 79 ⟶ 108:
{{นนทบุรี}}
{{สร้างปี|2555}}
[[หมวดหมู่:สะพานในจังหวัดนนทบุรี|สะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา บริเวณถนนนนทบุรี 1มหาเจษฎาบดินทร์]]
[[หมวดหมู่:สะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา|สะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา บริเวณถนนนนทบุรี 1มหาเจษฎาบดินทร์]]
[[หมวดหมู่:กรมทางหลวงชนบท]]
{{โครงคมนาคม}}