ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พัดยศ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Poonyo (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:พัดยศอย่างลังกา.JPG|thumb|200250px|จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ไทยได้รับประเพณีมีพัดยศสำหรับพระสงฆ์มาจากลังกา โดยกษัตริย์แห่งศรีลังกาในอดีตเป็นผู้เริ่มถวาย[[สมณศักดิ์]]และพัดยศเพื่อให้พระสงฆ์สำหรับใช้แสดงถึงสมณศักดิ์ที่ได้รับถวาย]]
{{รอการตรวจสอบ}}
[[ไฟล์:พระพรหมวิสุทธาจารย์0002.jpg|thumb|พัดยศสมณศักดิ์[[พระราชาคณะเจ้าคณะรอง]] ]]
[[ไฟล์:พัดยศอย่างลังกา.JPG|thumb|200px|จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ไทยได้รับประเพณีมีพัดยศสำหรับพระสงฆ์มาจากลังกา โดยกษัตริย์แห่งศรีลังกาในอดีตเป็นผู้เริ่มถวาย[[สมณศักดิ์]]และพัดยศเพื่อให้พระสงฆ์สำหรับใช้แสดงถึงสมณศักดิ์ที่ได้รับถวาย]]
[[ไฟล์:พัดยศพระราชาคณะ ชั้นสามัญเปรียญ( สป.).jpg|thumb|(พัดแฉกทรงพุ่มข้าวบิณฑ์) พัดยศพระราชาคณะ ชั้นสามัญเปรียญ]]
 
'''พัดยศ''' คือพัดเกียรติยศอันเป็นเครื่องราชสักการะอย่างหนึ่งที่พระมหากษัตริย์โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเพื่อพระราชทานแก่[[พระภิกษุ]]ผู้มีฐานันดรในคณะ[[สงฆ์]] เป็นการประกาศเกียรติคุณเพิ่มขวัญและกำลังใจแก่พระสงฆ์ผู้ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ ตามอย่างโบราณราชประเพณี ซึ่งเป็นพัดคู่กับ[[พัดรอง]] ซึ่งแบ่งตามศํกดิ์ ได้แก่
 
* '''พัดหน้านาง''' สำหรับพระ[[เปรียญ]] และพระฐานานุกรมบางตำแหน่ง
 
* '''พัดพุดตาน''' สำหรับ[[พระครูสัญญาบัตร]]และพระ[[ฐานานุกรม]]บางตำแหน่ง
'''พัดยศ''' มีชื่อเรียกและลักษณะแตกต่างกันไปตามศักดิ์ คือ
* '''พัดเปลวเพลิง''' สำหรับพระครูสัญญาบัตรที่เป็นเจ้าคณะจังหวัด รองเจ้าคณะจังหวัด และ[[เจ้าอาวาส]][[พระอารามหลวง]] (ชั้นเอก)
*'''พัดหน้านาง''' สำหรับพระ[[เปรียญ]] และพระฐานานุกรมบางตำแหน่ง
* '''พัดแฉกทรงพุ่มข้าวบิณฑ์''' สำหรับ[[พระราชาคณะ]]ทุกชั้น จนถึง[[สมเด็จพระราชาคณะ]]
*'''พัดพุดตาน''' สำหรับ[[พระครูสัญญาบัตร]]และพระ[[ฐานานุกรม]]บางตำแหน่ง
*'''พัดเปลวเพลิง''' สำหรับพระครูสัญญาบัตรที่เป็นเจ้าคณะจังหวัด รองเจ้าคณะจังหวัด และ[[เจ้าอาวาส]][[พระอารามหลวง]] (ชั้นเอก)
*'''พัดแฉกทรงพุ่มข้าวบิณฑ์''' สำหรับ[[พระราชาคณะ]]ทุกชั้น จนถึง[[สมเด็จพระราชาคณะ]]
 
'''พัดยศ''' เป็นพัดคู่กับ '''[[พัดรอง]]'''
 
== ประวัติ ==
[[ไฟล์:พัดยศเปรียญธรรม ๙ ประโยค.jpg|left|thumb|(พัดหน้านาง)พัดยศเปรียญธรรม 9 ประโยค]]
 
'''พัดยศ''' เป็นเครื่องประกอบสมณศักดิ์ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระบรมราชานุญาตให้สร้างขึ้น เพื่อถวายแก่[[พระสังฆาธิการ]]ในโอกาสรับพระราชทาน[[สมณศักดิ์]] โดยจะนำมาใช้เฉพาะงานรัฐพิธีและการ[[พระราชพิธี]]เท่านั้น วิวัฒนาการของพัดยศก่อนจะมีรูปแบบดังที่พบเห็นอยู่นี้ มีความเป็นมาที่ยาวนานและได้มีการพัฒนารูปแบบมาหลายครั้ง หากสังเกตให้ดีจะพบว่าตาลปัตรหรือพัดยศมีอยู่หลายชนิด แต่ละชนิดก็มีรูปทรง ลวดลาย ตลอดจนสีสันงดงามแตกต่างกันออกไปตามระดับของชั้นยศที่ได้รับพระราชทาน
 
เส้น 24 ⟶ 21:
 
การที่ตาลปัตรรูปหน้านางเป็นที่แพร่หลาย และรู้จักกันทั่วไปนั้นเกิดขึ้นจากพระราชปรารภใน[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ที่มีพระราชประสงค์ให้พระภิกษุสงฆ์ใช้ตาลปัตรรูปหน้านางแทนตาลปัตรที่เรียกว่า "พัชนี" กล่าวคือ[[พระสงฆ์]]ในช่วงระยะเวลานั้นนิยมนำพัชนีที่มีรูปทรงเป็นพัดงองุ้มด้ามยาว ตัวพัดทำขึ้นจากโครงโลหะหรือไม้แล้วหุ้มด้วยผ้าที่มีลวดลายมาใช้แทนตาลปัตรใบตาล ด้วยถือกันอย่างผิดๆ ว่าเป็นเครื่องยศสำหรับพระสงฆ์ผู้มีบรรดาศักดิ์ที่เอาไว้ใช้แทนตาลปัตรหรือให้ลูกศิษย์พัดถวายปรนนิบัติ และยิ่งกว่านั้นยังได้ปรากฏการทำตาลปัตรพัชนีเลียนแบบพัชนีที่เป็นเครื่องยศของเจ้านายและขุนนางออกจำหน่ายแก่ผู้ซื้อ เพื่อนำไปถวายพระภิกษุสงฆ์ในงานพิธีกระทำบุญกุศลต่าง ๆ ดังนั้นจึงมีพระราชดำริให้พระสงฆ์ใช้ตาลปัตรรูปหน้านางไว้ดังนี้
 
[[ไฟล์:พัดยศเปรียญธรรม ๙ ประโยค.jpg|left|thumb|(พัดหน้านาง)พัดยศเปรียญธรรม 9 ประโยค]]
 
''"....พัชนีนั้นท่านคิดไปดูรูปร่างเห็นบัดสี ใครคิดอ่านทำขึ้นเมื่อไรให้เปนรูปอย่างนี้ ผู้นั้นจะไม่ได้พิจารณาให้ลเอียดเลย...ใช้ไปไม่มีสตินึกได้บ้างเลยว่า รูปร่างไม่ดีไม่เปนมงคลเลย เอามาถือบังหน้าตาครอบหัวครอบหูอย่างไรมิรู้อยู่ น่ารำคาญใจ...เครื่องมือไทยอีกอย่าง 1 รูปร่างก็คล้ายพัชนี คือจวัก ที่เรียกว่าจ่าหวักก็ดี.....เอามาใช้ตักเข้ากวนแกงซึ่งจะขึ้นถ้วยขึ้นชามขึ้นสำรับ....ในเครื่องต้นแล เครื่องเจ้านายที่มีบันดาลศักดิ์สูง เขาไม่ใช้มานานแล้ว เขามีทัพพีทองเหลืองทำรูปเหมือนช้อนต้นใหญ่ปลายย่อม......ครั้งนี้ทรงพระราชดำริที่จะใคร่ให้พระสงฆ์เลิกใช้พัชนีเสีย จะกลับไปทำพัดโครงไม้ไผ่ขึงๆ ปิดแพรปิดโหมดถวายให้ใช้เป็นอย่างพระสงฆ์จะยอมฤๅ ไม่ยอมไม่ทราบเลย การก็เคยมานานแล้ว ถ้าพระสงฆ์ยังชอบใจจะคงใช้อยู่ก็ตาม..."''
เส้น 31 ⟶ 26:
'''ตาลปัตร''' หรือพัดยศ แม้จะมิได้นับเนื่องให้เป็นสิ่งหนึ่งในบริขาร 8 ของพระสงฆ์ และไม่พบหลักฐานว่ามีพุทธบัญญัติให้พระสงฆ์ใช้ของสิ่งนี้ในโอกาสใด เพียงแต่พบข้อความปรากฏในคัมภีร์ทางศาสนาหลายแห่ง เช่น ในคัมภีร์[[ธรรมบท]] ว่า ''"ขณะที่พระพุทธองค์ทรงแสดงพระธรรมเทศนา มีพระ[[อานนท์]]พุทธอุปัฏฐากถวายงานพัดอยู่ด้านหลัง..."'' และ ''"พระ[[สารีบุตร]] ถือพัดอันวิจิตร ขึ้นไปแสดงธรรมบนธรรมาสน์..."'' และความตอนหนึ่งใน[[พุทธประวัติ]]ว่า ''"พระเจ้าปัสเสนทิโกศลโปรดให้สร้างพัดอันงดงามวิจิตร..."'' ถวายพระพุทธองค์ เป็นต้น จากข้อความที่กล่าวมานี้ พอสันนิษฐานได้ว่า การใช้พัดของพระสงฆ์ในยุคแรกน่าจะใช้เพื่อพัดโบกคลายความร้อนเท่านั้น ดังจะเห็นได้จากพระสงฆ์ชาว[[ลังกา]]ในปัจจุบัน เวลาสวดมนต์ยังถือพัดไปพัดวีไปในบางโอกาส เนื่องจากพัดชาวลังกามีด้ามสั้น
 
ต่อมาภายหลังได้มีผู้อธิบายว่าพระสงฆ์ใช้พัดเพื่อใช้บังเวลาเห็นอะไรก็ตามที่พระไม่ควรเห็น แต่ไม่น่าจะใช่วัตถุประสงค์ที่แท้ซึ่งมีมาแต่เดิม จากพัดที่ใช้พัดลมต่อมาในสังคมไทยพระสงฆ์เริ่มใช้พัดในเวลาให้[[ศีล]] ให้[[พร]] และจากนั้นราชการไทยได้ใช้พัดเป็นเครื่องแสดงสมณศักดิ์ของพระสงฆ์ ซึ่งน่าจะมีที่มาจากในอดีตเมื่อพระสงฆ์ไทยไปในงานพิธีต่างๆ คงจะนิยมถือพัดไปด้วยแทบทุกครั้งจนกลายเป็นประเพณีสืบมา เมื่อการระบายความร้อนได้มีวิวัฒนาการไปมากจนพัดโบกลมจะหมดความจำเป็นไปแล้ว การใช้พัดของพระสงฆ์ในยุคต่อมาจึงถือไปเพื่อตั้งบังหน้า เป็นการรักษาธรรมเนียม[[ประเพณี]] ซึ่งจะทำให้[[ศาสนพิธี]]นั้น ๆ ดูเป็นพิธีรีตองและเป็นกิจลักษณะยิ่งขึ้น {{clear}}
[[ไฟล์:พระพรหมวิสุทธาจารย์0002.jpg|thumb|พัดยศสมณศักดิ์[[พระราชาคณะเจ้าคณะรอง]] ]]
[[ไฟล์:พัดยศพระราชาคณะ ชั้นสามัญเปรียญ( สป.).jpg|thumb|(พัดแฉกทรงพุ่มข้าวบิณฑ์) พัดยศพระราชาคณะ ชั้นสามัญเปรียญ]]
 
== รูปแบบของพัดยศ ==
[[ไฟล์:พัดพระครู.jpg|thumb|(พัดพุดตาน) รูปแบบพัดยศสมณศักดิ์พระครูสัญญาบัตร]]
[[ไฟล์:พัดยศเปรียญ.jpg|left|thumb|พัดยศเปรียญ]]
รูปลักษณะและการเรียกชื่อพัดยศของไทยที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบันมีอยู่ด้วยกัน 4 แบบดังได้กล่าวมาแล้วได้แก่
 
* '''พัดหน้านาง''' เชื่อกันว่าได้แบบอย่างมาจาก[[ลังกา]] เป็นรูปแบบที่เก่าแก่ที่สุด ใบพัดเป็นรูปไข่ หรือคล้ายเค้าหน้าของสตรี มีด้ามตรงกลาง ยาวประมาณ 70 เซนติเมตร พัดหน้านางส่วนมากมักจะเป็นพัดรอง พัด[[เปรียญ]]ธรรมทุกชั้น พัดยศ[[ประทวนสมณศักดิ์]] และพัดยศ[[ฐานานุกรม]]บางตำแหน่ง
 
* '''พัดพุดตาน''' ใบพัดมีลักษณะวงกลม แต่ริมขอบหยักเป็นแฉกรวม 16 แฉกคล้ายกลีบดอกบัวบาน หรือดอกพุดตานบาน เป็นพัดที่ทำด้วยโครงเหล็กหุ้มแพร หรือผ้าสักหลาดกำมะหยี่ สีเดียวกันบ้าง สลับสีบ้าง ตามชั้นของสมณศักดิ์ ส่วนมากเป็นพัดของ[[พระครูสัญญาบัตร]] หรือพัดของพระครูฐานานุกรมบางตำแหน่ง
 
[[ไฟล์:พัดพระครู.jpg|thumb|(พัดพุดตาน) รูปแบบพัดยศสมณศักดิ์พระครูสัญญาบัตร]]
 
* '''พัดเปลวเพลิง''' มีลักษณะเป็นพัดยอดแหลม ใบเป็นแฉกคล้ายเปลวเพลิง ด้ามงายอดงา (แต่ปัจจุบันพัดยศทุกชั้น ได้มีพระบรมราชานุญาตให้ทำด้วย[[พลาสติก]]ผสม[[เรซิน]]ทั้งหมดแล้ว เนื่องจากประเทศต่าง ๆ ได้ร่วมกันลงนามในสัตยาบรรณที่จะป้องกันรักษาสัตว์ป่าและพันธุ์พืชที่ใกล้จะสูญพันธุ์) สำหรับพัดเปลวเพลิงใช้เฉพาะพระครูสัญญาบัตร ที่ดำรงตำแหน่ง[[เจ้าคณะจังหวัด]] รองเจ้าคณะจังหวัด และเจ้าอาวาส[[พระอารามหลวง]]ชั้นเอกเท่านั้น
 
* '''พัดแฉกทรงพุ่มข้าวบิณฑ์''' คำว่า[[ข้าวบิณฑ์]] แปลตามตัวว่า ก้อนข้าว คือ ข้าวสุกที่เขาปั้นเป็นก้อนใส่ลงในกรวย สอดไว้กับพุ่มดอกไม้ หรือกระทงขั้น[[บายศรี]] ใช้เซ่นไหว้บูชาในพิธีกรรมบางอย่าง อีกอย่างหนึ่งคำว่าข้าวบิณฑ์เป็นชื่อของลายไทยชนิดหนึ่งมีลักษณะเป็นพุ่มช่วงล่าง เรียวแหลมขึ้นไปช่วงบน ส่วนพัดแฉกทรงพุ่มข้าวบิณฑ์นั้น ใบพัดมีลักษณะส่วนล่างเป็นพุ่มและเรียวแหลมขึ้นไปถึงส่วนยอดเหมือนลายข้าวบิณฑ์ของไทย หรือคล้ายดอกบัวตูมขอบนอกคล้ายกลีบบัวที่ประกบแนบอยู่กับดอก มีกลีบอย่างน้อย 5-9 กลีบ มีการปักลายไทยชนิดต่างๆ ด้วยดิ้นเงิน ดิ้นทอง ทองแล่ง และอุปกรณ์การปักอื่น ๆ อย่างประณีตสวยงามตามความสูงต่ำของชั้นสมณศักดิ์ที่ได้รับพระราชทาน พัดแฉกเป็นของสำหรับ[[พระราชาคณะ]]ตั้งแต่ชั้นสามัญขึ้นไป จนถึงชั้น[[สมเด็จพระราชาคณะ]]
 
[[ไฟล์:พัดยศเปรียญ.jpg|left|thumb|พัดยศเปรียญ]]
นอกจากนี้ยังมี'''พัดยศเปรียญ''' อันเป็นเครื่องหมายสำหรับพระภิกษุผู้สอบได้[[บาลี]]เปรียญ 3 ประโยคขึ้นไป และมีคำเป็นเครื่องสมณศักดิ์ว่า "พระมหา" เวลาทรงตั้งเรียกว่า "ทรงตั้งเปรียญ" ไม่ใช้คำว่า "พระราชทานสมณศักดิ์ - พัดยศ" สำหรับผู้สอบได้ประโยค ป.ธ.3. พระราชทานให้[[สมเด็จพระสังฆราช]]ทรงตั้ง โดยประทานประกาศนียบัตร พัดยศ ชื่อว่า ทรงตั้งแล้ว ส่วนผู้สอบได้ประโยค ป.ธ.6 ถึงประโยค ป.ธ.9 จะเสด็จพระราชทานประกาศนียบัตรพัดยศ และไตรจีวรด้วยพระองค์เอง ณ พระอุโบสถ[[วัดพระศรีรัตนศาสดาราม]] ลักษณะพัดยศเปรียญเป็นพัดหน้านาง ประโยค ป.ธ.3 - ป.ธ.5 มีพื้นสักหลาดสีแดงปักดิ้นเลื่อมมีเลขประโยคอยู่ตรงกลางพัด ประโยค ป.ธ.6 - ป.ธ.8 มีพื้นสักหลาดสีเหลืองด้ามสีดำ ปักดิ้นเลื่อมมีเลขประโยคอยู่ตรงกลาง ประโยค ป.ธ.9 พื้นสักหลาดสีเหลืองด้ามสีขาว ปักดิ้นเลื่อมตรงกลางว่าง ไม่มีเลขประโยคกำกับ
 
== อ้างอิง ==
* [[พระธรรมกิตติวงศ์]] (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. ๙ [[ราชบัณฑิต]] ''พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด '''คำวัด,''' '' [[วัดราชโอรสาราม]] กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[สมณศักดิ์]]
 
==อ้างอิง==
* [[พระธรรมกิตติวงศ์]] (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. ๙ [[ราชบัณฑิต]] ''พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด '''คำวัด,''' '' [[วัดราชโอรสาราม]] กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/พัดยศ"