ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พลาสมา (สถานะของสสาร)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
AlphamaBot (คุย | ส่วนร่วม)
Alphama Tool
Poonyo (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{รอการตรวจสอบ}}
{{ความหมายอื่น|เกี่ยวกับ=สถานะหนึ่งของสสาร |สำหรับ= |ดูที่=พลาสมา }}
 
[[ไฟล์:Plasma-lamp 2.jpg|thumb|300250px|right|หลอดไฟพลาสมา แสดงปรากฏการณ์ที่ซับซ้อนบางประการ รวมทั้งปรากฏการณ์ "ฟิลาเมนเตชั่น" (filamentation)]]
'''พลาสมา''' ในทาง[[ฟิสิกส์]] และ[[เคมี]] '''พลาสมา''' คือ [[แก๊ส]]ที่มีสภาพเป็น[[ไอออน]] และมักจะถือเป็นสถานะหนึ่งของ[[สสาร]] การมีสภาพเป็นไอออนดังกล่าวนี้ หมายความว่า จะมี[[อิเล็กตรอน]]อย่างน้อย 1 ตัว ถูกดึงออกจาก[[โมเลกุล]] [[ประจุไฟฟ้า]]อิสระทำให้พลาสมามีสภาพการนำไฟฟ้าเกิดขึ้น
 
สถานะที่ 4 ของสสารนี้ มีการเอ่ยถึงครั้งแรก โดยเซอร์ วิลเลียม ครูกส์ (Sir William Crookes) เมื่อ [[ค.ศ. 1879]] และในปี [[ค.ศ. 1928]] นั้น เออร์วิง แลงเมียร์ (Irving Langmuir) คิดคำว่าพลาสมา (plasma) ขึ้นมาแทนสถานะของสสารนี้เนื่องจากเขานึกถึง[[พลาสมา (เลือด)|พลาสมา]]ของ[[เลือด]]
บรรทัด 14:
 
{{สถานะของสสาร}}
 
 
[[หมวดหมู่:ฟิสิกส์พลาสมา]]