ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สตรอนเชียม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Hattakan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Hattakan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 72:
ซึ่งสตรอนเทียมสามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้ดังนี้
1. ใช้ทำโลหะเจือกับ Al, Pb และ Cu
2. ใช้ในอุตสาหกรรมถลุงโลหะ โดยการเกิดไนไตรด์ (nitrides) และคาร์ไบด์ (carbides)
กับแร่ที่มี N และ C เป็นองค์ประกอบ
3. เป็นตัวออกซิไดซ์สำหรับโลหะเจือหลายชนิด เช่น Cr-Ni, Fe-Ni, Ni-Co, Ni-Co-Fe
4. เป็นตัวรีดิวซ์ในการเตรียมโลหะ Be, Cr, Ha และโลหะ rare earths