ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าบุญอุ้ม ณ จำปาศักดิ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Saeng Petchchai (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 39:
 
'''เจ้าบุญอุ้ม ณ จำปาศักดิ์''' เป็นเชื้อสายเจ้าผู้ครองนครจำปาศักดิ์ของลาว อดีตนายกรัฐมนตรีแห่งรัฐบาล[[พระราชอาณาจักรลาว]] 2 สมัย อดีตผู้ตรวจการแผ่นดินต่างพระเนตรพระกรรณเจ้ามหาชีวิตแห่งราชอาณาจักรลาว และประมุขแห่งราชสกุล [[ณ จำปาศักดิ์]] พระองค์ทรงเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการเมืองลาวในฐานะลาวฝ่ายขวาหลังจากที่รับเอกราชจากฝรั่งเศส จนกระทั่งสิ้นสุดสมัยพระราชอาณาจักรลาวในปี [[พ.ศ. 2518]]
 
== ประวัติ ==
เจ้าบุนบุญอุ้มประสูติเมื่อ พ.ศ. 2454 เป็นโอรสของ[[เจ้ายุติธรรมธร (หยุย ณ จำปาศักดิ์)]] ผู้เป็นเจ้าผู้ครองนครจำปาศักดิ์ระหว่าง พ.ศ. 2436 – 2489 ใน พ.ศ. 2484 เมื่อจำปาศักดิ์กลับมาเป็นของไทย หลัง[[กรณีพิพาทอินโดจีนฝรั่งเศส]] และฝรั่งเศสได้คืนไปหลัง[[สงครามโลกครั้งที่ 2]] ฝรั่งเศสได้ตั้งให้เจ้าบุนบุญอุ้มเป็นเจ้าผู้ครองนครจำปาศักดิ์ และเมื่อลาวได้รับเอกราช จำปาศักดิ์ถูกผนวกให้เป็นส่วนหนึ่งของลาว โดยเจ้าบุนบุญอุ้มสละสิทธิ์การเป็นกษัตริย์เหนือดินแดนดังกล่าว
 
สภาวะความวุ่นวายทางการเมืองของลาวหลังได้รับเอกราช ที่แบ่งเป็นลาวฝ่ายขวาที่นิยมสหรัฐ และลาวฝ่ายซ้ายที่นิยม[[เวียดนาม]] และยังมีฝ่ายเป็นกลางที่พยายามประนีประนอมระหว่างทั้งสองฝ่ายข้างต้น เจ้าบุนบุญอุ้มเป็นหนึ่งในสามเจ้าลาวที่มีบทบาทในฐานะลาวฝ่ายขวา เมื่อ[[เจ้าสุวรรณภูมา]]พยายามดำเนินนโยบายเป็นกลางใน พ.ศ. 2493 และสามารถเจรจากับลาวฝ่ายซ้ายคือ[[เจ้าสุพานุวง]]สำเร็จ เจ้าบุนบุญอุ้มที่มีไทยและสหรัฐหนุนหลังได้คัดค้านอย่างแข็งขัน ทำให้รัฐบาลของเจ้าสุวรรณภูมาถูกกดดันจนต้องล้มไป ในพ.ศ. 2502 ท้าว[[โง่น ชนะนิกอน]]ขึ้นมาจดตั้งรัฐบาลแทน ก่อนที่นายพล[[พูมี หน่อสะหวัน]]จะยึดอำนาจการปกครองในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2502 และในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2503 ร้อยเอก[[กองแล วีระสาน]]เข้ายึดอำนาจในกรุงเวียงจันทน์ และสนับสนุนให้เจ้าสุวรรณภูมากลับมาจัดตั้งรัฐบาล เจ้าบุนบุญอุ้มคัดค้านและไม่ยอมเจรจากับร้อยเอกกองแล
 
เหตุการณ์ครั้งนี้ทำให้ไทยและสหรัฐเข้าไปแทรกแซงการเมืองภายในลาว โดยสนับสนุนฝ่ายของนายพลพูมีที่พยายามสร้างกองกำลังของตนเองที่[[สะหวันนะเขต]] ส่วนเจ้าสุวรรณภูมาพยายามเจรจากับฝ่าย[[ปะเทดลาว]]เพื่อจัดตั้งรัฐบาลผสม สหรัฐพยายามกดดันให้เจ้าสุวรรณภูมาเปิดการเจรจากับนายพลพูมีจนทำให้เจ้าสุวรรณภูมาต้องหนีไป[[กัมพูชา]] เมื่อ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2503 ฝ่ายของกองแลหันไปร่วมมือกับปะเทดลาว ดังนั้น ใน พ.ศ. 2504 จึงจัดตั้งรัฐบาลลาวฝ่ายขวา โดยมีเจ้าบุนบุญอุ้มเป็นผู้นำ ทำให้สงครามกลางเมืองในลาวขยายตัวมากยิ่งขึ้น
สภาวะความวุ่นวายทางการเมืองของลาวหลังได้รับเอกราช ที่แบ่งเป็นลาวฝ่ายขวาที่นิยมสหรัฐ และลาวฝ่ายซ้ายที่นิยม[[เวียดนาม]] และยังมีฝ่ายเป็นกลางที่พยายามประนีประนอมระหว่างทั้งสองฝ่ายข้างต้น เจ้าบุนอุ้มเป็นหนึ่งในสามเจ้าลาวที่มีบทบาทในฐานะลาวฝ่ายขวา เมื่อ[[เจ้าสุวรรณภูมา]]พยายามดำเนินนโยบายเป็นกลางใน พ.ศ. 2493 และสามารถเจรจากับลาวฝ่ายซ้ายคือ[[เจ้าสุพานุวง]]สำเร็จ เจ้าบุนอุ้มที่มีไทยและสหรัฐหนุนหลังได้คัดค้านอย่างแข็งขัน ทำให้รัฐบาลของเจ้าสุวรรณภูมาถูกกดดันจนต้องล้มไป ในพ.ศ. 2502 ท้าว[[โง่น ชนะนิกอน]]ขึ้นมาจดตั้งรัฐบาลแทน ก่อนที่นายพล[[พูมี หน่อสะหวัน]]จะยึดอำนาจการปกครองในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2502 และในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2503 ร้อยเอก[[กองแล วีระสาน]]เข้ายึดอำนาจในกรุงเวียงจันทน์ และสนับสนุนให้เจ้าสุวรรณภูมากลับมาจัดตั้งรัฐบาล เจ้าบุนอุ้มคัดค้านและไม่ยอมเจรจากับร้อยเอกกองแล
 
ต่อมา เมื่อสหรัฐได้นำเจ้าบุนบุญอุ้มเข้าร่วมการประชุมเจนีวาในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2504 การเจรจาได้ยืดเยื้อจนถึง พ.ศ. 2505 ในที่สุด ที่ประชุมยอมให้เจ้าสุวรรณภูมาเป็นผู้นำของลาว บทบาททางการเมืองของเจ้าบุนบุญอุ้มจึงลดลง หลังจากนั้น ฝ่ายขบวนการปะเทดลาวสามารถรุกคืบหน้าจนได้ชัยชนะใน พ.ศ. 2518 ส่วนเจ้าบุนบุญอุ้มถึงแก่อสัญกรรมที่ฝรั่งเศสใน พ.ศ. 2523
เหตุการณ์ครั้งนี้ทำให้ไทยและสหรัฐเข้าไปแทรกแซงการเมืองภายในลาว โดยสนับสนุนฝ่ายของนายพลพูมีที่พยายามสร้างกองกำลังของตนเองที่[[สะหวันนะเขต]] ส่วนเจ้าสุวรรณภูมาพยายามเจรจากับฝ่าย[[ปะเทดลาว]]เพื่อจัดตั้งรัฐบาลผสม สหรัฐพยายามกดดันให้เจ้าสุวรรณภูมาเปิดการเจรจากับนายพลพูมีจนทำให้เจ้าสุวรรณภูมาต้องหนีไป[[กัมพูชา]] เมื่อ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2503 ฝ่ายของกองแลหันไปร่วมมือกับปะเทดลาว ดังนั้น ใน พ.ศ. 2504 จึงจัดตั้งรัฐบาลลาวฝ่ายขวา โดยมีเจ้าบุนอุ้มเป็นผู้นำ ทำให้สงครามกลางเมืองในลาวขยายตัวมากยิ่งขึ้น
 
ต่อมา เมื่อสหรัฐได้นำเจ้าบุนอุ้มเข้าร่วมการประชุมเจนีวาในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2504 การเจรจาได้ยืดเยื้อจนถึง พ.ศ. 2505 ในที่สุด ที่ประชุมยอมให้เจ้าสุวรรณภูมาเป็นผู้นำของลาว บทบาททางการเมืองของเจ้าบุนอุ้มจึงลดลง หลังจากนั้น ฝ่ายขบวนการปะเทดลาวสามารถรุกคืบหน้าจนได้ชัยชนะใน พ.ศ. 2518 ส่วนเจ้าบุนอุ้มถึงแก่อสัญกรรมใน พ.ศ. 2523
== อ้างอิง ==
* สารานุกรมประวัติศาสตร์สากลสมัยใหม่: เอเชีย เล่ม 1 อักษร A-B ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กทม.ราชบัณฑิตยสถาน. 2539.