ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พินิจ รัตนกุล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ProfessorYALE (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ScorpianPK (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Pinit ratanakul.jpg|thumbnail|รองศาสตราจารย์ ดร.พินิจ รัตนกุล]]
'''รองศาสตรจารย์ ดร.พินิจ รัตนกุล''' นักวิชาการทางชีวจริยธรรม (Bioethics) จบการศึกษาปริญญาตรี (เกียรตินิยมอันดับสอง) จาก[[คณะอักษรศาสตร์จุฬาลงกรณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] และปริญญาเอกวิชาปรัชญาจาก[[มหาวิทยาลัยเยล]] (Yale) [[สหรัฐอเมริกา]]
''''''รองศาสตรจารย์ ดร.พินิจ รัตนกุล''''''
 
หลังจากสอนวิชาปรัชญาที่[[คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]] ได้ย้ายมาก่อตั้งภาควิชามนุษยศาสตร์ ที่[[คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลมหิดล‎]] และนำวิชาปรัชญาไปบูรณาการกับวิทยาศาสตร์ การแพทย์ และการพยาบาล พร้อมทั้งจัดทำหลักสูตรวิชาศาสนาเปรียบเทียบเพื่อสร้างครูอาจารย์สอนวิชาศาสนาในปริบทของศาสนาสัมพันธ์ ต่อจากนั้น ได้จัดตั้งโครงการศูนย์พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ทางศาสนาและจริยธรรมที่[[บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล]] สมัยที่รองศาสตราจารย์ ดร.มันตรี จุลสมัย เป็นคณบดี และก่อตั้ง[[วิทยาลัยศาสนศึกษาศาสนศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล]] ในปี พ.ศ. 2542 ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ทางศาสนาและจริยธรรม สำหรับพระสงฆ์และฆราวาส เพื่อพัฒนาตนให้มีความรู้ทั้งทางโลกและทางศาสนา พร้อมทั้งมีคุณธรรมเป็นพื้นฐานของชีวิตและการทำงาน เป็นผู้อำนวยการวิทยาลัยแห่งนี้ 3 วาระ ติดต่อกัน (19 สิงหาคม 2542 – 20 มกราคม 2554)
นักวิชาการชั้นนำทางชีวจริยธรรม (Bioethics) ในเอเชียอาคเนย์ จบการศึกษาปริญญาตรี (เกียรตินิยมอันดับสอง)
จากคณะอักษรศาสตร์จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และปริญญาเอกวิชาปรัชญาจากมหาวิทยาลัยเยล (Yale) สหรัฐอเมริกา
 
หลังจากสอนวิชาปรัชญาที่คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้ย้ายมาก่อตั้งภาควิชามนุษยศาสตร์ ที่คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และนำวิชาปรัชญาไปบูรณาการกับวิทยาศาสตร์ การแพทย์ และการพยาบาล พร้อมทั้งจัดทำหลักสูตรวิชาศาสนาเปรียบเทียบเพื่อสร้างครูอาจารย์สอนวิชาศาสนาในปริบทของศาสนาสัมพันธ์ ต่อจากนั้นได้จัดตั้งโครงการศูนย์พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ทางศาสนาและจริยธรรมที่บัณฑิตวิทยาลัยสมัยที่รองศาสตราจารย์ ดร.มันตรี จุลสมัย เป็นคณบดี และก่อตั้งวิทยาลัยศาสนศึกษาในปี พ.ศ. 2542 ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ทางศาสนาและจริยธรรม สำหรับพระสงฆ์และฆราวาส เพื่อพัฒนาตนให้มีความรู้ทั้งทางโลกและทางศาสนา พร้อมทั้งมีคุณธรรมเป็นพื้นฐานของชีวิตและการทำงาน เป็นผู้อำนวยการวิทยาลัยแห่งนี้ 3 วาระ ติดต่อกัน (19 สิงหาคม 2542 – 20 มกราคม 2554)
ปัจจุบัน พินิจ รัตนกุล เป็นที่ปรึกษาและอาจารย์พิเศษของวิทยาลัยศาสนศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล งานวิชาการทางปรัชญาและศาสนศึกษา มีทั้งภาษาอังกฤษและภาษาไทย เช่น ชีวิต-ความว่างและเสรีภาพ ปรัชญาแห่งความไร้เหตุผล สมาธิวิปัสสนารักษาโรคได้ ปัญญาชนถาม หลวงพ่อจรัญเฉลย งานภาษาอังกฤษในรูปตำราที่เขียนเองตลอดคือ Introduction to Bioethics และในรูปบทความวิชาการ ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการต่างประเทศ เช่น Journal of Philosophy and Medicine Eubio Journal of Asian and International Bioethics และ Hastings Center Report นอกจากนั้นเป็นข้อเขียนรวมอยู่ในหนังสือที่ตัวเองหรือที่ผู้อื่นเป็นบรรณาธิการ เช่น เรื่อง Development, Modernization and Tradition in Southeast Asia (ed. Pinit Ratanakul) Contemporary Buddhist Ethics (ed. Damien Keown) Buddhism and Abortion (ed. Demien Keown) Cross-cultural Issues in Bioethics (ed. Heiner Roetz) A Cross-Cultural Dialogue on Health Care Ethics (ed. Harold Coward) และ Encyclopedia of Bioethics (ed. Warren Thomas Reich)
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
-* วิทยาลัยศาสนศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล (การสัมภาษณ์ รองศาสตราจารย์ ดร.พินิจ รัตนกุล วันที่ 2 สิงหาคม 2556)
-* 16 ปี วิทยาลัยศาสนศึกษา: แหล่งเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต (19 สิงหาคม 2556)
 
[[หมวดหมู่:นิสิตเก่าคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]]
- วิทยาลัยศาสนศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล (การสัมภาษณ์ รองศาสตราจารย์ ดร.พินิจ รัตนกุล วันที่ 2 สิงหาคม 2556)
[[หมวดหมู่:บุคคลจากคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]]
 
[[หมวดหมู่:บุคคลจากวิทยาลัยศาสนศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล]]
- 16 ปี วิทยาลัยศาสนศึกษา: แหล่งเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต (19 สิงหาคม 2556)
[[หมวดหมู่:บุคคลจากคณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล‎]]
 
 
'''(ไม่อนุญาตให้แก้ไขข้อมูลนี้ ยกเว้นผู้ดูแลระบบเท่านั้น)'''