ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กุญแจย่อยของซาโลมอน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
GreenBurst (คุย | ส่วนร่วม)
DessertSweet (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มอ้างอิง
บรรทัด 1:
'''กุญแจย่อยของโซโลมอน''' ({{lang-en|Lesser Key of Solomon}}) หรือ '''คลาวิคิวลา ซาโลมอนิส''' (Clavicula Salomonis) (''คลาวิส ซาโลมอนิส'' หรือ ''กุญแจของโซโลมอน'' เป็นหนังสือที่มีครอบคลุมเนื้อหาเดียวกันที่มีมาก่อนหน้า) เป็นตำราเวทย์ซึ่งไม่ปรากฏชื่อผู้แต่งในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17 และเป็นหนังสือที่แพร่หลายที่สุดใน[[ปิศาจวิทยา]]<ref name="Peterson-intro">Lemegeton Clavicula Salomonis: The Lesser Key of Solomon, Detailing the Ceremonial Art of Commanding Spirits Both Good and Evil; ed. Joseph H. Peterson; Weiser Books, Maine; 2001. p.''xi''-''xvii''</ref><ref name="Rudd-Goetia-399">The Goetia of Dr Rudd; Thomas Rudd, Ed. Stephen Skinner & David Rankine; 2007, Golden Hoard Press. p. 399.</ref> รวมถึงยังเป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลายในอีกชื่อคือ '''เลเมเกทัน''' (Lemegeton)
{{ต้องการอ้างอิง}}
 
'''กุญแจย่อยของโซโลมอน''' ({{lang-en|Lesser Key of Solomon}}) หรือ '''คลาวิคิวลา ซาโลมอนิส''' (Clavicula Salomonis) (''คลาวิส ซาโลมอนิส'' หรือ ''กุญแจของโซโลมอน'' เป็นหนังสือที่มีครอบคลุมเนื้อหาเดียวกันที่มีมาก่อนหน้า) เป็นตำราเวทย์ซึ่งไม่ปรากฏชื่อผู้แต่งในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17 และเป็นหนังสือที่แพร่หลายที่สุดใน[[ปิศาจวิทยา]] รวมถึงยังเป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลายในอีกชื่อคือ '''เลเมเกทัน''' (Lemegeton)
 
== ประวัติ ==
เส้น 8 ⟶ 6:
ในหนังสืออ้างว่าประพันธ์โดย[[โซโลมอน]] แต่ค่อนข้างเชื่อได้ว่าเป็นความเท็จเนื่องจากยศที่ใช้กับปิศาจ เช่น มาควิส หรือ เอิร์ล นั้นยังไม่ปรากฏในสมัยของโซโลมอน นอกจากนั้นยังมีคำสวดถึง[[พระเยซู]]และ[[พระตรีเอกานุภาพ]]ปรากฏในหนังสือด้วย
 
กุญแจย่อยของโซโลมอนมีรายละเอียดของภูตและการอัญเชิญเพื่อใช้งาน ซึ่งรายละเอียดนี้รวมถึงตราพิทักษ์และพิธีกรรมซึ่งจำเป็นต้องใช้ในการควบคุมและป้องกันตัวจากภูต ในตำราที่พบเดิมนั้นรายละเอียดจะแตกต่างกันไปในหลายๆฉบับ<ref>[http://writer.dek-d.com/0012/story/viewlongc.php?id=446421&chapter=136 บทความเรื่อง สัตว์ในเทพนิยายและตำนาน ตอนที่ 136 : Lesser Key of Solomon จากเว็บไซต์ dek-d.com] สืบค้นวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2552</ref>
 
== เนื้อหา ==
เส้น 16 ⟶ 14:
''ศาสตร์แห่งโกเอเทีย'' กล่าวถึงปิศาจ 72 ตนที่กล่าวว่า[[โซโลมอน]]เคยเรียกขึ้นมาใช้งานโดยขังไว้ในภาชนะทองเหลืองที่ผนึกด้วยตราเวท อาร์สโกเอเทียบรรยายถึงการสร้างภาชนะแบบเดียวกันและใช้เวทมนตร์เรียกปิศาจ โดยระบุถึงยศของปิศาจแต่ละตนในนรกและดวงตราผนึกที่ใช้ควบคุม
 
ใน[[พ.ศ. 2447]] ''แซมมวล แมเธอร์ส'' และ ''อเลสเตอร์ โครลีย์'' ได้แปลและเรียบเรียงอาร์สโกเอเทียเป็นภาษาอังกฤษโดยใช้ชื่อว่า ''เดอะ โกเอเทีย : กุญแจย่อยของกษัตริย์โซโลมอน (คลาวิคิวลา ซาโลมอนิส เรจิส)'' (The Goetia: The Lesser Key of Solomon the King (Clavicula Salomonis Regis)) ซึ่งเป็นตำราสำคัญในระบบเวทมนตร์ของโครลีย์<ref>[http://writer.dek-d.com/0012/story/viewlongc.php?id=446421&chapter=137 บทความเรื่อง สัตว์ในเทพนิยายและตำนาน ตอนที่ 137 : Ars Goetia จากเว็บไซต์ dek-d.com] สืบค้นวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2552</ref>
 
==== ปิศาจ 72 ตน ====
เส้น 102 ⟶ 100:
 
=== อาร์สทิวร์เกียโกเอเทีย ===
เป็นบทที่สอง อธิบายถึงชื่อ ลักษณะ และผนึกของภูตอากาศ 31 ตน (แต่ละตนมียศเป็น หัวหน้า, จักรพรรดิ, ราชา และ เจ้าชาย) ซึ่ง[[โซโลมอน]]เคยเรียกและควบคุม วิธีการป้องกันตัวจากภูติ ชื่อของภูติรับใช้ พิธีอัญเชิญและใช้งาน ภูติเหล่านี้มีทั้งดีและเลว ภูติเหล่านี้สามารถใช้ค้นหาสิ่งที่ซ่อนอยู่ เปิดเผยความลับของบุคคล และขนย้ายวัตถุใดๆได้ตราบที่ถูกควบคุมไว้ด้วยธาตุทั้งสี่ ภูติเหล่านี้ถูกระบุถึงด้วยลำดับที่ซับซ้อนในหนังสือ<ref name="Rudd-Goetia-ATSIntro>Rudd, ed. Skinner & Rankine; p.53-57</ref>
 
=== อาร์สพอลลินา ===
เส้น 109 ⟶ 107:
โดยบทแรกนั้นอธิบายถึงเทวทูตในช่วงเวลาต่างๆของวันและคืน ซึ่งรวมถึงรายละเอียดเรื่องผนึก พฤติกรรม ผู้รับใช้ (เรียกว่า''ดุ๊ค'') ความสัมพันธ์กับดาวเคราะห์ทั้งเจ็ดที่รู้จักในขณะนั้น ตำแหน่งของดวงดาวที่เหมาะสม รายชื่อ และวิธีการอัญเชิญเทวทูตเหล่านั้น
 
ส่วนบทย่อยที่สองกล่าวถึงเทวทูตผู้ปกครอง[[จักรราศี]] ตำแหน่งทางดาราศาสตร์ ความสัมพันธ์กับธาตุทั้งสี่ ชื่อ และผนึก เทวทูตเหล่านี้เรียกว่าเทวทูตแห่งมนุษย์ เพราะมนุษย์ทั้งมวลล้วนแต่เกิดภายใต้จักรราศีทั้งสิบสอง<ref name="Rudd-Goetia-APIntro>Rudd, ed. Skinner & Rankine; p.57-59</ref>
 
=== อาร์สอัลมาเดล ===
''ศาสตร์แห่งอัลมาเดล'' เป็นบทที่สี่ ว่าด้วยการทำ ''อัลมาเดล'' ซึ่งเป็นแผ่นขี้ผึ้งที่มีตราพิทักษ์เขียนไว้และตั้งเทียนไขไว้สี่เล่ม บทนี้กล่าวถึงการเลือกสี วัสดุ และพิธีกรรมที่ใช้ในการทำอัลมาเดลและเทียนไข อาร์สอัลมาเดลยังกล่าวถึง[[เทวทูต]]ที่จะเรียกมาพร้อมอธิบายวิธีอัญเชิญ ทั้งยังระบุว่าผู้อัญเชิญสามารถขอให้เทวทูตช่วยได้แต่สิ่งที่สมเหตุผลและเป็นธรรมเท่านั้น บทนี้ยังระบุเรื่องผู้ปกครองทั้งสิบสองของเทวทูต นอกจากนั้นยังมีรายละเอียดของวันและ[[ดาราศาสตร์|ตำแหน่งของดวงดาว]]ที่เหมาะสมกับการอัญเชิญแต่ก็ไม่ยาวนัก<ref name="Peterson-Intro-AA">Peterson, p. ''xvi''</ref><ref name="Rudd-Goetia-AAIntro>Rudd, ed. Skinner & Rankine; p.59-60</ref>
 
=== อาร์สนอทอเรีย ===
''ศาสตร์อันโดดเด่น''เป็นบทที่ห้า เป็นตำราเวทย์ซึ่งรู้จักกันตั้งแต่[[สมัยกลาง]] หนังสือเล่มนี้อ้างว่าศาสตร์นี้[[พระเจ้า]]ได้เผยให้แก่[[โซโลมอน]]ผ่าน[[เทวทูต]] บทนี้รวบรวมมนตร์ต่างๆผสมด้วย[[แคบบาลาห์]]และเวทมนตร์ในภาษาต่างๆ วิธีการสวดมนต์เหล่านี้ และความสัมพันธ์ของพิธีกรรมเหล่านี้กับการเข้าใจศาสตร์ต่างๆ ในบทนี้ยังกล่าวถึงความสัมพันธ์ของดวงจันทร์กับผู้สวดมนต์และระบุว่ามนตร์เหล่านี้เป็นการเรียกเทวทูต อาร์สนอทอเรียอ้างว่าเมื่อสวดมนต์เหล่านี้อย่างถูกต้องก็จะทำให้เข้าใจศาสตร์แขนงที่สัมพันธ์กันและยังทำให้จิตใจมั่นคง ความทรงจำดี<ref name="Peterson-Intro-AN">Peterson, p. ''xvii''</ref><ref name="Rudd-Goetia-ANIntro>Rudd, ed. Skinner & Rankine; p.60-63.</ref>
 
ในบทนี้ยังกล่าวถึงการที่โซโลมอนได้รับ[[วิวรณ์]]จากเทวทูตอีกด้วย
เส้น 125 ⟶ 123:
* Peterson, Joseph H. ''The Lesser Key of Solomon: Lemegeton Clavicula Salomonis'' (2001), ISBN 978-1-57863-220-6.
* Skinner, Stephen & Rankine, David, ''The Goetia of Dr Rudd: The Angels and Demons of Liber Malorum Spirituum Seu Goetia (Sourceworks of Ceremonial Magic)''. Golden Hoard Press, (2007). ISBN 978-0-9547639-2-3
 
== อ้างอิง ==
{{ต้องการรายการอ้างอิง}}
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==