ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สนธิสัญญาอึลซา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 31:
9 พฤศจิกายน 1905 [[อิโต ฮิโระบุมิ]] เดิมทางถึง[[โซล|กรุงฮันซอง]] (โซล) และเข้าถวายพระราชสาสน์จาก[[จักรพรรดิเมจิ|จักรพรรดิมุสึฮิโตะ]]แห่งญี่ปุ่นแก้[[พระเจ้าโกจง|จักรพรรดิโกจง]]แห่งเกาหลี เพื่อต้องการให้จักรพรรดิโกจงลงพระนามในสนธิสัญญา ซึ่งพระองค์ก็ไม่ยิมยอม ต่อมาในวันที่ 15 พฤศจิกายน อิโต ได้บัญชาให้กองทหารญี่ปุ่นเข้าล้อมพระราชวังหลวงไว้ เพื่อกดดันให้พระองค์ทรงลงพระนาม
 
17 พฤศจิกายน พลเอก ฮะเซะนะวะ โยะชิมิชิ ผู้บัญชาการกองทหารรักษาการณ์แห่งเกาหลี พร้อมด้วย อิโต ฮิโระบุมิ และกองทหารญี่ปุ่น ได้เข้าไปยังพระที่นั่งจุงเมียงจอน พระที่นั่งสถาปัตยกรรมตะวันตก ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของพระราชวังด็อกซุกอุง เพื่อเกลี้ยกล่อมให้จักรพรรดิโกลงทรงลงพระนามในสนธิสัญญา แต่พระองค์ก็ได้ปฏิเสธ ดังนั้น อิโต จึงบีบบังคับด้วยกำลังทหารให้คณะรัฐมนตรีเกาหลีลงนาม<ref>McKenzie, F. A. ''Korea's Fight for Freedom''. 1920.</ref> อย่างไรก็ตาม นายกรัฐมนตรีเกาหลี ฮัน กิวโซล ปฏิเสธการลงนามอย่างเสียงดัง อิโตจึงสั่งให้ทหารนำตัวเขาไปขัง และขู่ว่าถ้าเขายังไม่หยุดโวยวายเสียงดังจะสังหารเขา<ref>이토 히로부미는 직접~ :한계옥 (1998년 4월 10일). 〈무력을 앞장 세워 병탄으로〉, 《망언의 뿌리를 찾아서》, 조양욱, 1판 1쇄, 서울: (주)자유포럼, 97~106쪽쪽. ISBN 89-87811-05-0</ref> เมื่อเหตุการณ์เป็นเช่นนี้ จึงมีรัฐมนตรีเกาหลี 5 คนที่ซึ่งเรียกว่า "5 รัฐมนตรี" ยอมลงนาม คือ รัฐมนตรีศึกษาธิการ ลี วันยอง, รัฐมนตรีกองทัพ อี กวนแท็ก, รัฐมนตรีมหาดไทย อี จียอง, รัฐมนตรีต่างประเทศ พัก เจซุน และ รัฐมนตรีเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม กวอน จุงฮยอน โดยที่จักรพรรดิโกจงไม่ได้ทรงร่วมลงพระนาม
ฝ่ายเกาหลีมีผู้ลงนามคือ "5 รัฐมนตรี" คือ รัฐมนตรีศึกษาธิการ ลี วันยอง, รัฐมนตรีกองทัพ อี กวนแท็ก, รัฐมนตรีมหาดไทย อี จียอง, รัฐมนตรีต่างประเทศ พัก เจซุน และ รัฐมนตรีเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม กวอน จุงฮยอน โดยที่จักรพรรดิโกจงไม่ได้ทรงร่วมลงพระนาม
 
== อ้างอิง ==