ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตะเคียนชันตาแมว"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
PAHs (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{taxobox
|image = 1500 year old Chengal tree.jpg
|image_caption = ตะเคียนชันตาแมวอายุ 1,500 ปี ที่มาเลเซีย
|status = VU
|status_system = IUCN2.3
เส้น 8 ⟶ 10:
|ordo = [[Malvales]]
|familia = [[Dipterocarpaceae]]
|genus = ''[[Neobalanocarpus]]''
|genus_authority = [[P.S. Ashton]]
|species = '''''N. heimii'''''
|binomial = ''Neobalanocarpus heimii''
|binomial_authority = (King) P. Ashton
|}}
'''ตะเคียนชันตาแมว''' ({{ชื่อวิทยาศาสตร์|Neobalanocarpus heimii ( King) P.S.Ashton}}) จัดอยู่ใน[[วงศ์ยางนา]] DIPTEROCARPACEAE(Dipterocarpaceae) เป็นพันธุ์ไม้พระราชทานปลูกเป็นมงคลประจำ[[จังหวัดนราธิวาส]]<ref>http://www.komchadluek.net/detail/20111214/117596/ตะเคียนชันตาแมวเนื้อไม้ใช้ก่อสร้าง.html</ref> ลักษณะของตะเคียนชันตาแมว เป็นไม้ต้นสูงถึง 40 เมตร เรือนยอดเป็นพุ่มกลมหรือบางครั้งแผ่กว้าง ลำต้นตรง เปลือกสีน้ำตาลเข้มแตกตามยาวและล่อนเป็นสะเก็ด ตกชันสีขาวใส เปลือกในสีเหลืองแกมเขียว เนื้อไม้สีเหลืองน้ำตาลแกมเหลืองถึงสีน้ำตาลเข้ม ใบ เป็นใบเดี่ยวเรียงสลับ แผ่นใบรูปขอบขนานแกมรูปใบหอก กว้าง 2-4 ซม. ยาว 8-15 ซม. ปลายใบสอบเรียวแหลม โคนใบมนหรือเบี้ยว ผิวใบเกลี้ยงหรือมีขนเล็กน้อย เส้นแขนงใบ 9-10 คู่ โค้งจรดขอบใบ ก้านใบยาวประมาณ 1.5 ซ.ม.ดอก ดอกสีขาวนวลถึงสีขาวอมเหลือง ออกเป็นช่อตามง่ามใบและปลายกิ่ง ผล รูปทรงกระบอกโค้ง ปลายแหลม กว้างประมาณ 1.5 ซม. ยาว 5-7 ซม. มีกลีบเลี้ยงรองผล 5 กลีบ ยาวไม่เกินครึ่งหนึ่งของความยาวของตัวผล ประโยชน์ ใช้ในการก่อสร้างได้แข็งแรงทนทาน เช่น ทำเสา รอด ตง ไม้หมอนรถไฟ และใช้ต่อเรือ ชันมีราคาสูง ใช้ผสมน้ำมันทาไม้ และน้ำมันชักเงาอย่างดี
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
==แหล่งข้อมูลอื่น==
 
{{commons|Category:Neobalanocarpus heimii|''Neobalanocarpus heimii''}}
 
{{wikispecies-inline|Neobalanocarpus heimii}}
{{ต้นไม้พระราชทาน}}