ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปาโบล ปิกาโซ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
ป้ายระบุ: เพิ่มยูอาร์แอล wikipedia.org
บรรทัด 1:
{{Infobox artist
ระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมมระเบิดตู้มมมมมมมมมมมมมมมมม
| bgcolour = yellow
| name = ปาโบล ปิกัสโซ
| image = Pablo picasso 1.jpg
| imagesize = 200px
| caption = Pablo Picasso in 1962
| birth_name = Pablo Diego José Francisco de
| birth_date = {{birth date |1881|10|25|}}
| birth_place = [[สเปน]]
| death_date = {{death date and age |1973|4|8|1881|10|25|}}
| death_place =
| nationality = [[Spanish]]
| field = Painting
| movement = [[ลัทธิคิวบิสม์]]
| works =
| patrons =
| awards =
}}
[[ไฟล์:Picasso Signatur-DuMont 1977.svg|250px|right|Signatur Pablo Picasso]]
'''ปาโบล รุยซ์ ปิกัสโซ''' ({{lang-es|Pablo Ruiz Picasso}}) [[จิตรกร]]เอกของโลก เป็นบุคคลที่นิตยสาร TIME ยกย่องให้เป็นศิลปินที่มีพรสวรรค์ในการสร้างสรรค์มากที่สุดในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ปิกัสโซเกิดเมื่อวันที่ 25 ตุลาคม ปี 1881 ที่เมือง[[มาลากา]] [[แคว้นอันดาลูเซีย]]ทางตอนใต้ของ [[ประเทศสเปน]] เป็นบุตรชายคนโตของดอนโคเซ รุยซ์ อี บลัสโก (ค.ศ. 1838-1913) กับมารีอา ปีกัสโซ อี โลเปซ บิดาเป็นครูสอนศิลปะในมหาวิทยาลัย งานของปิกัสโซเปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัยแต่ยังคงความเป็นเอกลักษณ์ แต่การเปลี่ยนแปลงทิศทางรูปแบบของผลงานนั้นเกิดจากหรืออาจได้รับแรงบันดาลใจมาจาก เฟอร์นานเดอ โอริเวียร์ [[Fernande Olivier]] ซึ่งเป็นคนรักคนแรกของเขา และเขาได้แต่งงานครั้งที่ 2 กับแจ็คเกอรีน โร๊ค ในปี 1961 และเขาจบชีวิตศิลปินลงในวันที่ 8 เมษายน ปี 1973 เสียชีวิตในวัย 91 ปี
 
== วัยเด็ก ==
ในวัยเด็ก เขาฉายแววการเป็นศิลปินระดับโลกด้วยการพูดคำว่า "piz, piz" [มาจากคำว่า "lápiz" (ลาปิซ) ที่แปลว่าดินสอใน[[ภาษาสเปน]]] เป็นคำแรก แทนที่จะพูดคำว่า "แม่" เหมือนเด็กทั่วไป บิดาของเขาเป็นอาจารย์สอนวาดภาพ ซึ่งอาจเป็นส่วนสำคัญที่ทำให้เขาได้รับพรสวรรค์นี้มาตั้งแต่ยังเด็ก ปีกัสโซได้รับจานสีและพู่กันเป็นของขวัญวันเกิดตอนอายุ 6 ขวบจากบิดา ครั้งนึงที่บิดาของปีกัสโซกำลังวาดรูปนกพิราบของเขาอยู่นั้น สิ่งที่น่าทึ่งก็ได้บังเกิดขึ้น เมื่อบิดาของเขาออกไปจากห้องเพื่อทำอะไรบางอย่าง ปีกัสโซได้เข้าไปในห้อง แล้ววาดภาพนกพิราบต่อจนเสร็จ เมื่อบิดาเขากลับเข้ามาจึงได้พบว่าภาพที่วาดนั้น เสร็จสมบูรณ์และมีพลังมากกว่าที่ตนเองวาดเสียอีก และเมื่อเขาอายุเพียงแค่ 15 ปี เขาได้มีสตูดิโอเป็นของตัวเอง
 
== วัยทำงาน ==
หลังจากเริ่มต้นอย่างผิดพลาดด้วยการเป็นนักเรียนด้านศิลปะที่เมืองมาดริดและช่วงโบฮีเมี่ยนในเมืองบาเซโลน่า เขาได้เดินทางมาที่ปารีสครั้งแรกเมื่อเดือนตุลาคมปี 1900 ซึ่งถือเป็นเมืองหลวงด้านศิลปะ และได้ย้ายอาศัยอยู่อย่างถาวรเมื่อเดือนเมษายนปี 1904
 
ภาพเขียนของปีกัสโซแบ่งเป็นช่วงต่าง ๆ ได้ ดังนี้
# Blue Period 1901-1904 (ยุคสีน้ำเงิน)
# Rose Period 1904-1906 (ยุคสีชมพู)
# African-Influenced (ยุคอิทธิพลแอฟริกา)
# Cubism (บาศกนิยม)
# Classicism and surrealism (ยุคคลาสสิกและเหนือจริง)
# Later works (ยุคสุดท้าย)
 
=== ยุคสีน้ำเงิน ===
อยู่ในช่วงระหว่างปี 1901 - 1904 ปิกัสโซจมลงไปในภาวะซึมเศร้ารุนแรง เขาวาดภาพสีเดียวเป็นหลักในเฉดสีของสีฟ้า สีเขียวและสีฟ้าอ่อนผสมกับสีอื่น ๆ ทำให้งานของเขาในช่วงนี้มีลักษณะที่อึมครึม เขาได้รับแรงบันดาลใจในการวาดภาพลักษณะนี้จากการเดินทางผ่านประเทศสเปนและการฆ่าตัวตายของเพื่อนของเขาคาร์ลอ Casagemas แต่วาดผลงานในเมืองปารีส เขาเลือกใช้สีที่เรียบง่ายและถ่ายทอดเรื่องเศร้าโศก เช่นเรื่องโสเภณี ขอทานและขี้เมา เป็นภาพวาดที่สะท้อนชีวิตของผู้คนในสังคมเมืองปารีสที่ไม่ได้รับการเอาใจใส่เพื่อเป็นการเสียดสีหรือวิจารณ์สังคมในขณะนั้น เป็นต้น
 
=== ยุคสีชมพู ===
[[ไฟล์:Garçon à la pipe.jpg|thumb|left|upright|Pablo Picasso, ''[[Garçon à la pipe]], (Boy with a Pipe),'' 1905, [[Rose Period]]]]
อยู่ในช่วงระหว่างปี 1904-1906 เป็นภาพที่วาดด้วยโทนสีที่สดใสด้วยโทนสีส้ม สีชมพูและสีเนื้อ ซึ่งเป็นโทนสีที่ตรงกันข้ามกับยุคสีน้ำเงิน ซึ่งในช่วงปี 1904 เป็นช่วงที่เขาได้มีความสุขในความสัมพันธ์กับคนรักคนแรกของเขาคือ เฟอร์นานเดอ โอริเวียร์ [[Fernande Olivier]] และประกอบกับสภาพจิตใจที่ดีขึ้น ซึ่งอาจเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้งานของเขามีความเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม เขามักวาดภาพในลักษณะที่เกี่ยวข้องกับลวดลายข้าวหลามตัด นักแสดง และตัวตลกเป็นต้น
 
=== ยุคอิทธิพลแอฟริกัน ===
อยู่ในช่วงระหว่างปี 1906-1909 เป็นช่วงเวลาที่ปิกัสโซวาดในสไตล์ที่ได้รับอิทธิพลจากงานประติมากรรมแอฟริกันที่ถูกนำกลับไปยังพิพิธภัณฑ์ในกรุงปารีส เป็นผลมาจากการขยายตัวของจักรวรรดิฝรั่งเศสในแอฟริกา โดยงานประติมากรรมจากแอฟริกาเป็นแรงบันดาลใจสำหรับบางส่วนของการทำงานของเขา ความสนใจของเขาถูกจุดประกายโดยอองรีมาตีที่แสดงให้เขาเห็นหน้ากากจากภูมิภาคแดนของทวีปแอฟริกา โดยผลงานในช่วงยุคนี้ได้มีอิทธิพลพัฒนาส่งต่อมาช่วงบาศกนิยม Cubism อีกด้วย
 
=== ยุคบาศกนิยม ===
ยุคบาศกนิยมเป็นยุคความเคลื่อนไหวทางศิลปะอาวองการ์ดในศตวรรษที่ 20 ริเริ่มโดยปาโบล ปีกัสโซ (Pablo Picasso) และจอร์จส์ บราค (Georges Braque) ได้เปลี่ยนรูปโฉมของจิตรกรรมและประติมากรรมสไตล์ยุโรป รวมไปถึงดนตรีและงานเขียนที่เกี่ยวข้อง สาขาแรกของบาศกนิยมเป็นที่รู้จักกันในชื่อ Analytic Cubism (บาศกนิยมแบบวิเคราะห์) เป็นความเคลื่อนไหวทางศิลปะที่มีอิทธิพลรุนแรงและมี ความสำคัญอย่างมากในฝรั่งเศส แม้จะเป็นช่วงเวลาที่ไม่นานนักระหว่างค.ศ. 1907 และ 1911 ความเคลื่อนไหวในช่วงที่สองนั้นถูกเรียกว่า Synthetic Cubism (บาศกนิยมแบบสังเคราะห์) ได้แพร่กระจายและตื่นตัวจนกระทั่ง ค.ศ. 1919 เมื่อความเคลื่อนไหวของลัทธิเหนือจริงเป็นที่นิยม
 
ปิกัสโซและบราคพยายามเน้นคุณค่าของปริมาตรกับอากาศซึ่งสัมพันธ์กันเต็มไปหมดในภาพ อีกทั้งไม่เห็นด้วยในหลักการของพวกอิมเพรสชั่นนิสต์ ซึ่งละเลยความสำคัญของรูปทรงและปริมาตร ศิลปินต่างสำรวจความละเอียดของสิ่งที่พวกเขาต้องการวาด ด้วยการทำลายรูปทรงเหล่านั้นให้กลายเป็นชิ้นเล็กชิ้นน้อยไม่ปะติดปะต่อกัน รูปทรงบางรูปอาจทับซ้อนกัน หรือเหลื่อมล้ำกันและกัน โดยมีจุดประสงค์สำคัญในเรื่องปริมาตรเป็นเป้าหมายสูงสุด การสร้างภาพที่มีการจัดวางแบบผสมผสานแปลกใหม่ ไม่เน้นกฎเกณฑ์ และนำเสนอภาพแง่มุมต่างๆและที่สำคัญศิลปินทั้งสองเน้นว่า ผลงานคิวบิสม์ไม่ใช่งานสามมิติ แต่มีมิติที่สี่เช้ามา ซึ่งได้แก่ มิติของเวลา ที่สัมพันธ์กับการรับรู้ของมนุษย์ พร้อมกันนี้อาน์นาสันได้เปรียบเทียบระหว่างลัทธิโฟวิสม์กับคิวบิสม์ ไว้ว่า แนวทางของโฟวิสม์มีลักษณะการสร้างงานในการใช้สีที่โดดเด่นกว่าลัทธิอื่น แต่การนำเสนอรูปร่างของคนที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ในขณะที่ลัทธิคิวบิสม์สามารถนำไปเป็นแนวทางการสร้างศิลปะลัทธิอื่นๆ ได้ต่อไป เช่นงานโครงสร้าง [[Constructivism]] งานเหนือจริง [[Surrealism]] รูปแบบของ [[ลัทธิบาศกนิยม]] เป็นต้น
 
ในผลงานศิลปะของบาศกนิยมนั้น วัตถุจะถูกทำให้แตกเป็นชิ้น วิเคราะห์ และประกอบกลับขึ้นมาใหม่ในรูปลักษณ์ที่เป็นนามธรรมแทนที่จะแสดงวัตถุให้เห็น จากเพียงแค่มุมมองเดียว จิตรกรนั้นได้ถ่ายทอดวัตถุจากหลายแง่มุมเพื่อที่จะแสดงให้เห็นถึงวัตถุที่ อยู่ในสภาพแวดล้อมที่กว้างขึ้น บ่อยครั้งนักที่ผืนราบดูเหมือนจะตัดกันในมุมที่เป็นไปโดยบังเอิญ ปราศจากความสอดคล้องของความลึก ส่วนพื้นหลังและผืนราบแทรกเข้าไปในระหว่างกันและกันเพื่อที่จะทำให้เกิด พื้นที่ที่ไม่ชัดเจนอย่างผิวเผิน ซึ่งเป็นหนึ่งในคุณลักษณะเฉพาะของบาศกนิยม
 
=== ยุคคลาสสิกและเหนือจริง ===
ในช่วงเวลาดังต่อไปนี้เป็นกระแสการเปลี่ยนแปลงของสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ปิกัสโซผลิตงานในรูปแบบนีโอคลาสสินี้ กลับไปทำงานแบบตามสั่งตามรูปแบบที่เคยมีมา เห็นได้ชัดในการทำงานของศิลปินชาวยุโรปจำนวนมากในช่วงปี ค.ศ. 1920 รวมทั้ง Andre Derain, Giorgio De Chirico, Gino Severini ศิลปินของการเคลื่อนไหว Objectivity ใหม่และจาก Novecento Italiano ภาพวาดปิกัสโซและภาพวาดจากช่วงเวลานี้คล้ายคลึงกับรูปแบบผลงานของ [[Raphael]] and [[Ingres]] เนื้อหางานที่มีชื่อเสียงมากที่สุดของปีกัสโซ่ เป็นภาพของเขาจากการระเบิดของเยอรมันในช่วงสงครามกลางเมืองในสเปนบนผืนผ้าใบขนาดใหญ่ แสดงถึงความไร้มนุษยธรรมทารุณโหดร้ายและความสิ้นหวังของสงคราม
 
=== ยุคสุดท้าย ===
[[ไฟล์:2004-09-07 1800x2400 chicago picasso.jpg|thumb|upright|The ''[[Chicago Picasso]]]]
ผลงานสุดท้ายของปิกัสโซเป็นการผสมของรูปแบบวิธีในการแสดงออกในงานของเขาจนกระทั่งจบชีวิต ปิกัสโซ่เพิ่มเติมและแสดงออกผลงานของเขาอย่างมีมีสีสันและจากปี 1968 จนกระทั่งถึงปี 1971 เขาผลิตผลงานออกมามากมายทั้งภาพวาดและแกะสลักทองแดงหลายร้อยชิ้น โดยผลงานส่วนใหญ่นั้นถูกปฏิเสธไม่ได้รับการยอมรับเนื่องจากเป็นผลงานที่สื่อความอย่างอนาจาร แต่ภายหลังเมื่อปิกัสโซได้เสียชีวิตลง กระแสทิศทางของศิลปะก็ได้เปลี่ยนแปลงจาก Abstract expressionism และกระแสรูปแบบศิลปะแบบ [[Neo-expressionism]] ในเวลาต่อมา
 
== บรรณานุกรม ==
* The life and works of Picasso / Nathaniel Harris,UK : Parragon, 2002.
* โลกส่วนตัวของพีคัสโซ่ ศิลปินอัจฉริยะ / เดวิด ดักลาส ดันแคน ; แปลโดย ณรงค์ จันทร์เพ็ญ.,กรุงเทพฯ : แม่น้ำ, 2531
* http://en.wikipedia.org/wiki/Pablo_Picasso
* http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%A8%E0%B8%81%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%A2%E0%B8%A1
 
{{คอมมอนส์|Pablo Picasso}}
{{wikiquote}}
 
{{birth|1881}}
{{death|1973}}
 
[[หมวดหมู่:จิตรกรชาวสเปน]]
[[หมวดหมู่:จิตรกรลัทธิบาศกนิยม]]
[[หมวดหมู่:จิตรกรในคริสต์ศตวรรษที่ 20]]
[[หมวดหมู่:บุคคลจากมาลากา]]
{{โครงชีวประวัติ}}
 
{{Link FA|de}}
{{Link FA|uk}}
 
{{Link FA|scn}}