ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การแปลสิ่งเร้าผิด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ให้ดีขึ้น
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ให้ดีขึ้น
บรรทัด 1:
<!-- บทความนี้รวมมาจากบทความเดิมคือ "มายา" และ "การแปลสิ่งเร้าผิด" -->
{{ระวังสับสน|อารยธรรมมายา}}
[[ไฟล์:Regional Science Centre, Bhopal - Head on a Platter.jpg|thumb|งานศิลป์ "Head on a Platter (ศีรษะในจาน)" แสดงที่ศูนย์วิทยาศาสตร์ประจำภาค ในเมืองโภปาล [[รัฐมัธยประเทศ]] [[ประเทศอินเดีย]]]]
เส้น 8 ⟶ 9:
'''การแปล[[สิ่งเร้า]]ผิด'''<ref name=RoyalDict>"ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑", ให้ความหมายของ illusion ว่า "การลวงตา, การแปลสิ่งเร้าผิด, มายา, ภาวะลวงตา"</ref> หรือ '''มายา'''<ref name=RoyalDict/><ref name=Lexitron>{{cite web |title=Lexitron พจนานุกรมไทย<=>อังกฤษ รุ่น 2.6 |url=http://lexitron.nectec.or.th |work= |publisher=หน่วยปฏิบัติการวิจัยวิทยาการมนุษยภาษา, ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ, กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี |year=2546|quote=ให้ความหมายของ 'มายา' (สิ่งลวงตาลวงใจ) ว่า 'illusion' }}</ref> ({{lang-en|illusion}}) หมายถึงความผิดพลาดหรือความบิดเบือนของการรับรู้ทาง[[ประสาทสัมผัส]]
ที่ชี้ให้เห็นถึงวิธีที่[[สมอง]]จัดระเบียบและแปลผลข้อมูลทางประสาทสัมผัส
แม้ว่า การแปลสิ่งเร้าผิดจะบิดเบือน[[ความเป็นจริง]] แต่ก็เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดกับคนโดยมาก<ref>Solso, R. L. (2001) . [[Cognitive psychology]] (6th ed.) . Boston: Allyn and Bacon. ISBN 0-205-30937-2</ref>
 
การแปลสิ่งเร้าผิดอาจเกิดขึ้นทางประสาทสัมผัสใดก็ได้ในมนุษย์
เส้น 32 ⟶ 33:
ภาพลวงตาเช่นนี้เกิดขึ้นได้อาศัย[[ข้อสันนิษฐาน]]ที่ผู้ชมมีเกี่ยวกับความเป็นไปในโลกจริง ๆ
บทเล่นที่รู้จักกันดีก็คือ "กำแพง" (คือทำปฏิกิริยากับกำแพงที่ไม่มี) "ปีนขึ้นบันได" "พิง" (ดูรูป) "ปีนลงบันได" และ "ดึงและผลัก"
 
== เทคนิคและองค์ประกอบ ==
{{ต้องการอ้างอิง-ส่วน}}<!-- มาจากบทความ "มายา" ที่ไม่มีที่อ้างอิง-->
โดยองค์ประกอบและการรับรู้แล้วสมองจะมีการรับรู้แยกกันเป็นส่วนเบื้องต้นแล้วรวมกันเป็นหนึ่งเดียว โดยมองภาพ รับสี เสียง การตัดสินใจจากความรู้ พฤติกรรมที่เป็นไปได้ ถ้าสิ่งใดก็ตามที่มีผลกระทบต่อการควบคุมการทำงานการประมวลผลของสมอง เช่น การใช้แสงเพิ่มเข้ามา การทำสิ่งที่ไม่สามารถทำได้ จะทำให้เกิดการบิดเบือนไปว่าสิ่งที่ทำนั้นถูกต้อง แทนที่จะผิดพลาดหรือทำไม่ได้เลย
 
== ผลกระทบกับสมอง ==
{{ต้องการอ้างอิง-ส่วน}}<!-- มาจากบทความ "มายา" ที่ไม่มีที่อ้างอิง-->
เนื่องด้วยเทคนิคนี่มีผลกระทบต่อการรับรู้ในสิ่งที่เป็นไปไม่ได้ และการรับรู้ที่ผิดพลาด ส่วนมากเทคนิคดังกล่าวนั้นจะมีการนำไปใช้ในการแสดงมายากล และการแสดงในสิ่งที่มนุษย์ธรรมดาไม่สามารถกระทำได้เลย เช่น การลอยตัว การบิน การเดินบนน้ำ การยกคนด้วยน้ำหรือสิ่งที่ไม่สามารถทำได้ตามปกติธรรมดา
 
==ซูเปอร์อิลลูชั่น==
{{main|มายากล}}
{{ต้องการอ้างอิง-ส่วน}}<!-- มาจากบทความ "มายา" ที่ไม่มีที่อ้างอิง-->
เป็นรูปแบบการแสดงที่ใช้เทคนิคระดับสูงในการเบี่ยงเบนสายตาและมุมมองให้เหมือนกับว่าทำสิ่งต่าง ๆ ที่ไม่สามารถทำได้โดยปกติธรรมดา โดยมีการใช้เทคนิคนี้เป็นอย่างมากในการแสดงมายากล
เช่น การลอยตัว การบิน การหายตัว การตัดตัว เดินบนน้ำ และการแสดงอื่น ๆ อีกมากมาย
 
{{anchor|optical}}<!-- มีลิงก์มาจากที่อื่น กรุณาอย่าเปลี่ยน -->
เส้น 65 ⟶ 80:
โดยแต่ละนิ้วอยู่ที่แต่ละด้านของจมูก จะมีผลเป็นความรู้สึกว่ามีจมูกสองจมูก
 
ที่น่าสนใจก็คือ เขตในสมองที่เกิดการทำงานในการรับรู้สัมผัสที่ลวงประสาทกลับมีความคล้ายคลึงกับที่เกิดขึ้นเมื่อมีสัมผัสแบบนั้นจริง ๆ<ref>Gross, L 2006 THIS REFERENCE IS INCOMPLETE'''การอ้างอิงยังไม่สมบูรณ์'''</ref>
การลวงสัมผัสสามารถเกิดขึ้นได้โดยใช้เทคโนโลยีสัมผัส (haptic technology)<ref>[http://www.roblesdelatorre.com/gabriel/GR-VH-Nature2001.pdf Robles-De-La-Torre & Hayward 2001]</ref>
เช่น สามารถใช้เทคนิคการลวงสัมผัสเพื่อใช้เป็นวัตถุเสมือน (virtual คือไม่มีอยู่จริง ๆ) เช่นในโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ผู้ใช้กำลังจัดการวัตถุเสมือน<ref>[http://www.technologyreview.com/read_article.aspx?id=17363&ch=biotech&sc=&pg=1 The Cutting Edge of Haptics] (MIT [[Technology Review]] article)</ref>
 
==ประสาทสัมผัสอื่น ๆ==
การแปลสิ่งเร้าผิดสามารถเกิดขึ้นทาง[[ประสาทสัมผัส]]อื่น ๆ รวมทั้งที่ใช้ในการรับรู้เกี่ยวกับอาหาร
ทั้งแสียงเสียง<ref name=Zampini>Zampini M & Spence C (2004) [http://onlinelibrary.wiley.com/doi/10.1111/j.1745-459x.2004.080403.x/abstract "The role of auditory cues in modulating the perceived crispness and staleness of potato chips"] Journal of Sensory Studies 19, 347-363.</ref>
และสัมผัส<ref name=Barnett>Barnett-Cowan M (2010) [http://www.perceptionweb.com/abstract.cgi?id=p6784 "An illusion you can sink your teeth into: Haptic cues modulate the perceived freshness and crispness of pretzels"] Perception 39, 1684-1686.</ref>
สามารถลวง (บิดเบือน) ความรู้สึกเกี่ยวกับความเก่า (ความไม่สด) และความกรอบของอาหาร คือพบว่า
เส้น 79 ⟶ 94:
นอกจากนั้นแล้ว ยังพบว่า ถ้า[[เซลล์ประสาท]]รับรสบนลิ้นเกิดความเสียหาย
ก็ยังสามารถทำให้เกิดรสลวงโดยกระตุ้นความรู้สึกทางสัมผัสได้<ref>Todrank, J & Bartoshuk, L.M., 1991</ref>
มีหลักฐานด้วยว่า การแปลสิ่งเร้าผิดทางกลิ่นสามารถเกิดขึ้นได้เมื่อมีการบอกกล่าวเล่าถึงกลิ่นนั้นให้ฟัง จะเป็นข้อมูลที่ถูกหรือจะผิดก็ตาม ก่อนที่จะให้ดมกลิ่นนั้น<ref>{{cite journal |last=Herz |first=Rachel S |title=The influence of verbal labeling on the perception of odors: Evidence for olfactory illusions? |journal=Perception |volume=30 |issue= |pages=381-391 |year=2001 |pmid= |doi=10.1068/p3179 |url=http://www.rachelherz.com/uploads/Odor_Illusions.pdf}} </ref>
 
==โรค==
เส้น 106 ⟶ 121:
 
==แหล่งข้อมูลอื่น==
{{commons|Optical illusion|Optical illusion}}
*[http://www.virtuescience.com/universalveiling.html Universal Veiling Techniques]
*[http://www.metacafe.com/watch/838119/best_rotating_pictures_illusion/ Best Rotating Illusions Videoวิดิโอแสดงภาพลวงตา]
*[http://www.metacafe.com/watch/985327/you_will_not_believe_make_your_own_illusion_in_few_sec_o/ Make own Illusion videoวิดิโอแสดงวิธีทำภาพลวงตา]
*[http://www.visualfunhouse.com Illusion Databaseฐานข้อมูลภาพลวงตา] Daily Illusions
*[http://www.sandlotscience.com/EyeonIllusions/whatisanillusion.htm What is an Illusion?] by J.R. Block.
*[http://www.michaelbach.de/ot Optical illusions and visual phenomena] by Michael Bach