ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถานีรถไฟธนบุรี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Railway1234 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 53:
 
== ประวัติ ==
อาคารแรกเริ่มเมื่อสร้างสถานีบางกอกน้อย ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 นั้นไม่ปรากฏให้เห็นอย่างชัดเจนนัก พบว่ามีภาพวาดที่ระบุว่าเป็นภาพสถานีรถไฟหลวงสายใต้ แต่ยังไม่พบภาพถ่ายจริงของสถานีรถไฟหลวงสายใต้ในระยะนั้น อย่างไรก็ตาม ต่อมาเมื่อเกิดครั้งสงครามโลกครั้งที่ 2 อาคารกองทัพญี่ปุ่นได้ตั้งกองบัญชาการขึ้นที่สถานีรถไฟหลวงสายใต้บางกอกน้อย หรือจากนั้นไม่นาน ฝ่ายสัมพันธมิตรได้ส่งเครื่องบินเข้ามาทิ้งระเบิดสถานีรถไฟบางกอกน้อยถูกทำลายอย่างย่อยยับหนัก รัฐบาลในสมัยของตัวอาคารสถานีรถไฟบางกอกน้อยได้รับความเสียหายบางส่วน จอมพลแต่ที่ทำการรับส่งสินค้าที่ตั้งอยู่บริเวณริมแม่น้ำเจ้าพระยาและคลังเก็บสินค้าริมคลองบางกอกน้อยถูกทิ้งระเบิดเสียหายทั้งหมด ป.พิบูลสงครามต่อมาได้มีการก่อสร้างสถานีรถไฟบางกอกน้อยขึ้นมาใหม่ จึงให้สร้างโดยรื้ออาคารหลังใหม่ทดแทนที่ถูกทำลายสถานีเดิมออกไปพร้อมกับปรับปรุงและขยายย่านสถานีเดิม โดยสร้างเป็นอาคารอิฐสีแดง มีหอนาฬิกา ซึ่งถือว่าเป็นอาคารที่มีความสวยงามมากที่สุดอีกแห่งหนึ่ง และตั้งชื่อสถานีนี้ใหม่ว่า '''สถานีธนบุรี''' และเปิดใช้งานอาคารหลังใหม่เมื่อปี พ.ศ. 2493
 
บทบาทของสถานีธนบุรีในฐานะต้นทางของรถไฟสายใต้เริ่มน้อยลง เมื่อรถไฟสายใต้หลายขบวนได้เปลี่ยนต้นทาง-ปลายทางไปที่สถานีกรุงเทพ (หัวลำโพง) ซึ่งต่อมาในระยะหลัง ขบวนรถที่ให้บริการ ณ สถานีธนบุรีจึงมีเพียงขบวนรถธรรมดาและและขบวนรถชานเมือง รวมถึงขบวนรถรวม ในเส้นทางสายใต้ (รวมถึงเส้นทางสายกาญจนบุรีและสุพรรณบุรี)