ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กาฬมรณะ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 20:
กาฬโรคมีผลต่อเส้นทางประวัติศาสตร์ยุโรป ก่อให้เกิดทั้งกลียุคทางศาสนา สังคมและเศรษฐกิจ ประชากรยุโรปกว่าจะกลับคืนจำนวนก็ใช้เวลา 150 ปี กาฬโรคอุบัติซ้ำเป็นครั้งคราวในทวีปยุโรปกระทั่งคริสต์ศตวรรษที่ 19
 
==อาการ==
บันทึกเกี่ยวกับโรคนี้จากช่วงเวลาของการระบาดนั้นมีความแตกต่างกันอย่างมากหรือไม่เช่นนั้นก็มีความคลาดเคลื่อน อาการที่มีบันทึกไว้บ่อยที่สุดคือการพบฝีมะม่วงที่ขาหนีบ คือ หรือรักแร้ ซึ่งฝีนี้มีหนองซึม เมื่อผ่าเปิดแล้วมีเลือดออก บอคคาจิโอได้บรรยายฝีนี้ไว้ดังนี้
 
ในชายในหญิงก็หามีความแตกต่างกันไม่ เขาทั้งหลายเมื่อแรกเริ่มแพ้ภัยจักมีก้อนเนื้อจำพวกหนึ่งขึ้นที่ขาหนีบหรือไม่ก็รักแร้ บางจำพวกโตใหญ่จนมีขนาดเท่าแอปเปิ้ลทั่วไปผลหนึ่ง จำพวกอื่นโตเพียงเท่าไข่ เมื่อขึ้นที่ตำแหน่งที่กล่าวไว้แล้วนี้เจ้าฝีอันตรายนี้จะแพร่ลามไปตำแหน่งอื่นในไม่ช้า แพร่ไปทุกทิศทาง เมื่อถึงตอนนี้โรคร้ายนี้เริ่มมีอาการเปลี่ยน ขึ้นเป็นจุดดำหรือจุดแดงเข้มที่แขนหรือต้นขาหรือที่อื่นของผู้ป่วยหลายคน บ้างขึ้นน้อยที่แต่มีขนาดใหญ่ บ้างขึ้นหลายที่แต่มีขนาดเล็ก
==ชื่อ==
ผู้คนใน[[สมัยกลาง]]เรียกความหายนะในคริสต์ศตวรรษที่ 14 ว่า "Great Pestilence (โรคระบาดครั้งใหญ่)" หรือ "Great Plague (กาฬโรคครั้งใหญ่)"<ref name=Bennet&Hollister2006>J. M. Bennett and C. W. Hollister, ''Medieval Europe: A Short History'' (New York: McGraw-Hill, 2006), p. 326.</ref><ref>In 1350, Simon de Covino (or Couvin), a Belgian astronomer, wrote the poem "''De judicio Solis in convivio Saturni''" (On the judgment of the Sun at a feast of Saturn) in which he attributed the plague to a conjunction of Jupiter and Saturn.
* On page 22 of the manuscript in [http://gallica.bnf.fr/ark:/12148/btv1b9078277z/f25.image Gallica], Simon mentions the phrase "''mors nigra''" (Black Death): "''Cum rex finisset oracula judiciorum / Mors nigra surrexit, et gentes reddidit illi'';" (When the king ended the oracles of judgment / Black Death arose, and the nations surrendered to him;).
* A more legible copy of the poem appears in: Emile Littré (1841) [http://www.persee.fr/web/revues/home/prescript/article/bec_0373-6237_1841_num_2_1_451584?_Prescripts_Search_tabs1=standard& "Opuscule relatif à la peste de 1348, composé par un contemporain"] (Work concerning the plague of 1348, composed by a contemporary), ''Bibliothèque de l'école des chartes'', '''2''' (2) : 201-243; see especially page 228.
* See also: Joseph Patrick Byrne, ''The Black Death'' (Westport, Connecticut: Greenwood Press, 2004), [http://books.google.com/books?id=yw3HmjRvVQMC&pg=PA1#v=onepage&q&f=false page 1.]</ref> นักเขียนร่วมสมัยเรียกเหตุการณ์นี้ว่า "Great Mortality (การตายครั้งใหญ่)" บันทึกเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ของประเทศสวีเดนและเดนมาร์กในคริสต์ศตวรรษที่ 17 บรรยายถึงเหตุการณ์โดยใช้คำว่า "black (สีดำ)" เป็นครั้งแรก แต่คำนี้ไม่ได้สื่อถึงอาการขั้นสุดท้ายของโรคที่ผิวหนังของผู้ป่วยจะมีสีดำเนื่องมาจากเลือดออกใต้ชั้นหนังกำพร้า [[เนื้อตายเน่า]]บริเวณแขนและขา และการตายของเนื้อเยื่อบริเวณกระเบนเหน็บ มันหมายถึงสีดำในอารมณ์หม่นหมองโศกเศร้าหรือสะพรึ่งกลัวที่แสดงต่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ฟรังซีส ไอแดน กาสเกต(Francis Aidan Gasquet) อ้างว่า ชื่อในภาษาละติน "''atra mors''" (Black Death) ที่ใช้อ้างถึงโรคระบาดปรากฏครั้งแรกในสมัยใหม่เมื่อ ค.ศ. 1631 ในหนังสือประวัติศาสตร์เดนมาร์กโดย เจ.ไอ. พอนเทนนัส (J.I. Pontanus) ซึ่งพอนเทนนัสเขียนถึงโรคระบาดที่เกิดขึ้นในปี ค.ศ. 1348: "''Vulgo & ab effectu ''atram mortem'' vocatibant.''" (จากอาการทั่วไปของโรค มันจึงถูกเรียกว่าความตายสีดำ)<ref>Francis Aidan Gasquet, ''The Black Death of 1348 and 1349'', 2nd ed. (London, England: George Bell and Sons, 1908), [http://books.google.com/books?id=5wMAAAAAYAAJ&pg=PA7#v=onepage&q&f=false page 7.]</ref><ref>Johan Isaksson Pontanus, ''Rerum Danicarum Historia'' … (Amsterdam (Netherlands): Johann Jansson, 1631), [http://books.google.com/books?id=HaExAQAAMAAJ&pg=PA476#v=onepage&q&f=false page 476.]</ref><ref>D'Irsay points out that the phrase "black death" dates back at least to Homer's ''Odyssey'', where Homer said that Scylla's mouth contained rows of teeth πλείοι μέλανος θανάτοιο (full of black death). Many Roman authors also used the phrase. The medieval French physician [[Gilles de Corbeil]] (ca. 1140 - (1200-1225)) in his ''De signis et sinthomatibus egritudinum'' (On the signs and symptoms of diseases) referred to a pestilential fever (''febris pestilentialis'') as "''atra mors''" (black death). See: Stephen d'Irsay (May 1926) "Notes to the origin of the expression: atra mors," ''Isis'', '''8''' (2) : 328-332.</ref> อย่างไรก็ดี กาสเกตสงสัยว่าพอนเทนนัสน่าจะหมายถึงกาฬโรคที่มีอาการต่อมน้ำเหลืองบวมและอักเสบ อย่างไรก็ตาม ชื่อแพร่กระจายผ่านทางกลุ่มประเทศสแกนดิเนเวียนไปถึงยอรมนี<ref>The German physician [[Justus Friedrich Karl Hecker|Justus Hecker]] (1795-1850) cited the phrase in Icelandic (''Svartur Daudi''), Danish (''den sorte Dod''), etc. See: J.F.C. Hecker, ''Der schwarze Tod im vierzehnten Jahrhundert'' [The Black Death in the Fourteenth Century] (Berlin, (Germany): Friedr. Aug. Herbig, 1832), [http://books.google.com/books?id=LhoqAAAAYAAJ&pg=PA3#v=onepage&q&f=false page 3.]</ref> ในประเทศอังกฤษ คำนี้ไม่ปรากฏจนกระทั่ง ค.ศ. 1823 เมื่อเกิดโรคระบาดในสมัยกลางและมันถูกเรียกว่าแบล็กเดท<ref>The name "Black Death" first appeared in English in: