ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บัวหลวง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
PAHs (คุย | ส่วนร่วม)
Thaibiodiversity (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{ความหมายอื่น}}
{{ตารางจำแนกพันธุ์
| color = lightgreen
| name = บัวหลวง
| image = Lotus_Nelumbo_nucifera_Flower_Large_3264pxบัวหลวง_bedo.jpg
| image_caption = บัวหลวง
| image_width = 250px
| regnum = [[Plantae]]
| image_caption = ''Nelumbo nucifera'' flower
| regnumfamilia = [[PlantNELUMBONACEAE]]ae
| unranked_divisio = [[Flowering plant|Angiosperms]]
| unranked_classis = [[Eudicots]]
| ordo = [[Proteales]]
| familia = [[Nelumbo]]naceae
| genus = ''[[Nelumbo]]''
| species = '''''N. nucifera''' ''
| binomial = ''Nelumbo nucifera''
| binomial_authority = [[Joseph Gaertner|Gaertn.]]
| synonyms =
* ''Nelumbium speciosum'' <small>Willd.</small>
* ''Nymphaea nelumbo''
}}
 
==ชื่อสามัญ ==
'''บัวหลวง''' หรือ '''บัวหลวงอินเดีย''' ({{lang-en|Indian Lotus, Sacred Lotus, Bean of India}}) เป็นพืชน้ำใน[[สกุลบัวหลวง]] วงศ์บัว
Sacred Lotus, บัวหลวง, บัวหลวงแดง บัวหลวงขาว, Egyptian bean;Sacred lotus
 
==ชื่อท้องถิ่น==
== สายพันธุ์บัวหลวง ==
บัวหลวง, บุณฑริก ปทุม ปัทมา สัตตบงกช บัวฉัตรขาว บัวฉัตรสีชมพู สัตตบุษย์, บัวหลวง ปทุมชาติ
1. บัวพันธุ์ดอกสีชมพู ( บัวแหลมชมพู ) มีชื่อว่า ปทุม ปัทมา โกกระนต หรือ โกกนุต ดอกขนาดใหญ่ ดอกตูมเป็นรูปไข่ ปลายเรียวสีชมพู กลีบดอกชั้นนอกมี 4-5 กลีบ รูปไข่มีขนาดเล็ดเรียงตัวกัน 2 ชั้น ส่วนกลางของกลีบมีรูปร่างโค้งป่อง ตรงกลางสีชมพูอมเขียว ส่วนกลีบดอกชั้นกลางและชั้นในสีชมพูเข้ม โคนกลีบดอกสีขาวนวล มีประมาณ 13-14 กลีบ เรียงตัวเป็นชั้น ประมาณ 3 ชั้น อยู่โดยรอบฐานดอก กลีบชั้นนอกและชั้นในมีสีและรูปร่างคล้ายชั้นกลางแต่เล็กกว่ากลีบในชั้นกลาง
 
==รูปร่าง/ลักษณะ==
2. บัวหลวงพันธุ์ดอกสีขาว ( บัวแหลมขาว ) มีชื่อว่า บุณฑริก หรือ ปุณฑริก ดอกขนาดใหญ่เป็นรูปไข่ ปลายเรียว คล้ายบัวพันธุ์ปทุม ดอกมีสีขาวประกอบด้วยกลีบดอกชั้นนอกสีขาวอมเขียว ส่วนกลีบในชั้นกลางและชั้นในสีขาวปลายกลีบดอกสีชมพูเรื่อๆ รูปร่างของกลีบและการเรียงตัวของกลีบดอกคล้ายดอกบัวพันธุ์ปทุม
พืชล้มลุกมีไหลและเหง้าใต้ดิน ใบ เป็นใบเดี่ยว ใบอ่อนลอยปริ่มน้ำ ใบแก่จะชูพ้นน้ำได้สูรูปทรงกลม ขนาดประมาณ 50 ซม. ผิวด้านบนมีนวลเคลือบ ก้านใบมีตุ่มเล็กๆ ทั่วไป ดอก เป็นดอกเดี่ยวสีขาวหรือสีชมพู กลีบเลี้ยง 4-6 กลีบ คล้ายกับกลีบดอก กลีบดอกหลายกลีบเรียงตัวชั้นเดียว หรือซ้อนกันหลายชั้น รูปไข่กว้าง 5-6 ซม. ยาว 7-9 ซม. บานเต็มที่ขนาด 20-25 ซม. เกสรเพศผู้จำนวนมาก สีเหลืองยาว 4-5 ซม. ล้อมรอบ ฐานรองดอกรูปกรวยหงาย ปลายตัดเกสรเพศเมียมีรังไข่ฝังอยู่ที่ฐานรองดอก เมื่ออ่อนมีสีเหลือง แก่แล้วจะเปลี่ยนเป็นสีเขียว ช่องรังไข่เรียงเป็นวงบนผิวหน้าตัด จำนวน 5-15 อัน ผล เป็นผลกลุ่มเรียกว่าฝัก ผลย่อยรูปรี เมล็ดกว้าง 1 ซม., ต้น เป็นพรรณไม้น้ำ ใบ กลมมีขนาดใหญ่ ใบตั้งมีก้านยาวชูขึ้นพ้นผิวน้ำ ใบมีสีเขียว ดอก กลีบดอกชั้นนอกซ้อนกันหลายชั้น ดอกมีทั้งสีชมพูอมม่วง และสีขาวภายในดอก มีรูปร่างคล้ายกรวย มีเมล็ดฝังอยู่ภายใน และจะเติบโตเป็นผลที่เรียกว่าฝักบัว ราก รากหยั่งลงไปในดินลึก, ลำต้น: เป็นบัวขนาดใหญ่ มีก้านดอกแข็ง ผิวเป็นหนามคมเล็กๆ ตลอด ใบ: ทรงกลมโต ผิวเรียบมีนวลขาวเคลือบตลอดหน้าใบ ขอบใบเรียบ สีเขียวนวลสีเดียวตลอดใบ ก้านใบแข็ง ชูขึ้นเหนือน้ำ ดอก: ดอกบานแล้วไม่หุบ รูปดอกทรงพุ่ม กลีบดอกรูปกลมรีปลายแหลม ก้านชูเกสรตัวผู้เล็กปนฝอย ผล: เมื่อแก่โต เมล็ดกลมโต ไม่มีหัวเหมือนบัวสาย แต่เป็นลักษณะไหล หรือรากเก็บอาหาร ขนาดใหญ่ทรงกลมยาว เนื้อในมีรู้เหมือนสายบัว
 
==แหล่งที่พบ ==
3. บัวหลวงชมพูซ้อน ( บัวฉัตรชมพู ) มีชื่อว่า สัตตบงกช ดอกมีขนาดใหญ่ ดอกตูมเป็นรูปไข่ทรงป้อม สีชมพู ประกอบด้วยกลีบนอกเป็นรูปรี มี 4-7 กลีบ กลีบเล็กเรียนซ้อนกันเป็นชั้น 2-3 ชั้น สีเขียวอมชมพู กลีบในสีชมพูตลอด ส่วนโคนกลีบที่ติดกับฐานรองดอกมีสีขาวอมเหลือง กลีบในมีประมาณ 12-16 กลีบ กลีบในชั้นนอกและชั้นในมีขนาดเล็กกว่าชั้นกลาง เป็นรูปไข่ที่มีส่วนกว้างอยู่ด้านบน เกสรตัวผู้ชั้นนอกๆ เป็นหมัน โดยมีก้านชูที่เป็นเกสรตัวผู้ที่เป็นแผ่นบางๆ สีชมพูคล้ายกลีบในแต่มีขนาดเล็กกว่า ไม่มีอับเรณู แต่ปลายกลีบมีส่วนยื่นออกมาที่มีฐานเรียวเล็ก ส่วนปลายพองใหญ่ มีสีขาวนวล
มีถิ่นกำเนิดในทวีปเอเชีย เจริญเติบโตได้ดีในดินเหนียว สามารถขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด หรือการแยกไหล, มักขึ้นตามลำคลอง หนองและบึงทั่ว ๆไป
 
==ชื่อวิทยาศาสตร์==
4. บัวหลวงขาวซ้อน ( บัวฉัตรขาว ) มีชื่อว่า สัตตบุตย์ ดอกมีขนาดใหญ่ ดอกตูมเป็นรูปไข่ทรงป้อม คล้ายบัวพันธุ์สัตตบงกช ดอกมีสีขาว ประกอบด้วยกลีบดอกสีเขียวอมขาว ส่วนกลีบชั้นในสีขาวตลอด ส่วนรูปทรงและการเรียงตัวของกลีบดอกคล้ายบัวพันธุ์สัตตบงกช
Nelumbo nucifera Gaertn.
 
==วงศ์==
== ดอกไม้ประจำจังหวัด ==
NELUMBONACEAE
ดอกบัวหลวงเป็นดอกไม้ประจำจังหวัด[[ปทุมธานี]] [[พิจิตร]] [[ยโสธร]] [[สุโขทัย]] และ[[หนองบัวลำภู]]
{{ดอกไม้ประจำจังหวัด}}
{{โครงพืช}}
 
==สกุล==
[[หมวดหมู่:วงศ์บัวหลวง]]
Nelumbo
[[หมวดหมู่:ดอกไม้ประจำจังหวัด]]
 
[[หมวดหมู่:พืชน้ำ]]
==ชนิด==
nucifera
 
==คุณสมบัติ/ลักษณะของตัวอย่าง==
ลำต้น: เป็นบัวขนาดใหญ่ มีก้านดอกแข็ง ผิวเป็นหนามคมเล็กๆ ตลอด ใบ: ทรงกลมโต ผิวเรียบมีนวลขาวเคลือบตลอดหน้าใบ ขอบใบเรียบ สีเขียวนวลสีเดียวตลอดใบ ก้านใบแข็ง ชูขึ้นเหนือน้ำ ดอก: ดอกบานแล้วไม่หุบ รูปดอกทรงพุ่ม กลีบดอกรูปกลมรีปลายแหลม ก้านชูเกสรตัวผู้เล็กปนฝอย ผล: เมื่อแก่โต เมล็ดกลมโต ไม่มีหัวเหมือนบัวสาย แต่เป็นลักษณะไหล หรือรากเก็บอาหาร ขนาดใหญ่ทรงกลมยาว เนื้อในมีรู้เหมือนสายบัว
 
==ข้อมูลสถานที่และรายละเอียดสภาพแวดล้อม==
มักขึ้นตามลำคลอง หนองและบึงทั่ว ๆไป
 
==ภูมิปัญญาท้องถิ่น(ใช่/ไม่ใช่)==
ไม่
 
==วัตถุประสงค์ของการนำมาใช้ประโยชน์ ==
ยา
 
==รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์==
ส่วนที่ใช้และสรรพคุณ: NA : บำรุงกำลัง แก้ร้อนในกระหายน้ำ แก้เสมหะ แก้พุพอง แก้ดีพิการ แก้อาเจียน
 
 
== แหล่งที่มา ==
หน่วยงาน : Thai Herb
 
หน่วยงาน : Suan Dusit Cuisine
 
http://www.thaibiodiversity.org/Life/LifeDetail.aspx?LifeID=48