ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การตั้งครรภ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
G(x) (คุย | ส่วนร่วม)
G(x) ย้ายหน้า ผู้ใช้:NarumTha/การตั้งครรภ์ ไปยัง การตั้งครรภ์ โดยไม่สร้างหน้าเปลี่ยนทางตามมา
G(Bot) (คุย | ส่วนร่วม)
Adding dtac article designator, article needing attention using AWB
บรรทัด 1:
{{บทความดีแทค}}
{{บทความดีแทค}}
[[ไฟล์:Expecting mother.jpg|thumb|right|250px]]
'''การตั้งครรภ์''' คือกระบวนการพัฒนาตัวอ่อนในครรภ์ในระยะที่เป็น[[เอ็มบริโอ]] หรือฟีตัส ในระหว่างที่ตัวอ่อนฝังตัวใน[[มดลูก]]ของผู้หญิง โดยทั่วไปสำหรับการ[[gestation|ตั้งครรภ์]] ใน [[human|มนุษย์]] มีทั้งการตั้งครรภ์เดี่ยว หรือ [[multiple birth|ครรภ์แฝด]] ที่เกี่ยวข้องกับตัวอ่อนของการตั้งครรภ์ที่มากกว่า 1 เช่น [[twin|ฝาแฝด]] ตามหลักการแล้ว [[Childbirth|การคลอด]] มักเกิดขึ้นประมาณ 38 สัปดาห์ แต่ในผู้หญิงที่มีความยาวของรอบเดือน 4 สัปดาห์ การคลอดจะเกิดขึ้น 40 สัปดาห์โดยนับจากวันแรกของการมีประจำเดือนครั้งสุดท้าย การตั้งครรภ์ของมนุษย์มีการศึกษากันมากที่สุดในบรรดา [[Pregnancy (mammals)|สัตว์ที่เลี้ยงลูกด้วยนม]]ด้วยกัน หลักการคือ [[sexual intercourse|การมีเพศสัมพันธุ์]] หรือ [[assisted reproductive technology|เทคโนโลยีช่วยในการสืบพันธุ์]]
 
[[embryo|ตัวอ่อนในครรภ์]] จะถูกพัฒนาในการตั้งครรภ์ 8 สัปดาห์แรก และพัฒนามาเป็นทารกในครรภ์จนกระทั่งถือกำเนิด <ref>{{cite web |url=http://www.medterms.com/script/main/art.asp?articlekey=3225 |title=Embryo definition |date=27 April 2011 |publisher=MedicineNet, Inc}}</ref><ref>{{cite web |url=http://www.medterms.com/script/main/art.asp?articlekey=3424 |title=Fetus definition |date=27 April 2011|publisher=MedicineNet, Inc}}</ref> ในทางการแพทย์ได้กำหนดว่า การตั้งครรภ์ของมนุษย์ได้แบ่งเป็น 3 ไตรมาสเพื่อง่ายต่อการอ้างอิงช่วง[[prenatal development|พัฒนาการของการตั้งครรภ์ก่อนคลอด]] '''ไตรมาสแรก'''มีความเสี่ยงมากที่สุดก็คือการ [[miscarriage|การแท้งบุตร]](การตายธรรมชาติของตัวอ่อนหรือทารกในครรภ์) '''ไตรมาสที่สอง'''เริ่มที่จะตรวจสอบพัฒนาการและวินิจฉัยได้ง่ายขึ้น ''' ไตรมาสที่สาม''' มีการตรวจดูพัฒนาการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์และทำมีการเก็บ[[Adipose tissue|ไขมัน]]<ref>{{cite web |url=http://www.medterms.com/script/main/art.asp?articlekey=11446 |title=Trimester definition |date=27 April 2011 |publisher=MedicineNet, Inc}}</ref> [[point of fetal viability|เน้นประเด็นของการเติบโตของทารกในครรภ์]], หรือทารกในครรภ์สามารถมีชีวิตรอดเมื่ออยู่ภายนอก[[uterus|มดลูก]]ได้หรือไม่, ซึ่งมักจะเกิดขึ้นในช่วงปลายไตรมาสที่ 2 หรือต้นไตรมาส 3 ทารกที่คลอดเร็วกว่ากำหนดนั้นมีความเสี่ยงสูงในเรื่องพัฒนาการ([[Morbidity#Morbidity|เงื่อนไขทางการแพทย์]]) และอาจ[[dying|กำลังจะตาย]].<ref>{{cite journal |author=The American College of Obstetricians and Gynecologists |title=ACOG Practice Bulletin: Clinical Management Guidelines for Obstetrcian-Gynecologists: Number 38, September 2002. Perinatal care at the threshold of viability |journal=Obstet Gynecol |volume=100 |issue=3 |pages=617–24 |date=September 2002 |pmid=12220792 |doi= |url=}}</ref>
 
ในอเมริกาและอังกฤษ, 40% สำหรับ[[Unintended pregnancy|การตั้งครรภ์โดยไม่วางแผน]], และในระหว่างไตรมาสและครึ่งหนึ่งของการตั้งครรภ์แบบไม่วางแผนเป็นการ[[unwanted pregnancies|การตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์]]<ref>{{cite news|title=40% of pregnancies 'unplanned'|url=http://news.bbc.co.uk/2/hi/health/3515400.stm|newspaper=[[BBC News]]|date=16 March 2004}}</ref><ref>{{cite news|last=Jayson|first=Sharon|title=Unplanned pregnancies in U.S. at 40 percent|url=http://www.physorg.com/news/2011-05-unplanned-pregnancies-percent.html|newspaper=[[PhysOrg.com]]|date=20 May 2011}}</ref> คือการตั้งครรภ์แบบไม่ตั้งใจที่เกิดขึ้นในอเมริกา, 60% ของผู้หญิงมีการ [[birth control|การคุมกำเนิด]] เพื่อป้องกันการตั้งครรภ์แบบไม่พึงประสงค์นี้.<ref>{{cite book |authors=K. Joseph Hurt, Matthew W. Guile, Jessica L. Bienstock, Harold E. Fox, Edward E. Wallach (eds.) |title=The Johns Hopkins manual of gynecology and obstetrics |publisher=Wolters Kluwer Health / Lippincott Williams & Wilkins |location=Philadelphia |isbn=9781605474335 |pages=232 |url=http://books.google.ca/books?id=4Sg5sXyiBvkC&pg=PR232 |edition=4th}}</ref>
เส้น 85 ⟶ 86:
การวัดจะอ้างจากกลุ่ม([[reference group]])ของหญิงตั้งครรภ์ที่มีรอบของประจำเดือน([[menstrual cycle]]) 28 วัน และเป็นวันเริ่มทางธรรมชาติในการคลอดบุตร ความหมายคือ ช่วงระยะเวลาของการตั้งครรภ์จะอยู่ช่วงประมาณ 283.4 วันของอายุครรภ์([[gestational age]]) โดยเริ่มการนับคือวันแรกของการมีประจำเดือนครั้งสุดท้าย([[last menstrual period]]) ที่จะต้องจดจำได้โดยแม่, และ 280.6 วันโดยการประมาณการอายุครรภ์จากการวัดเวลาอัลตราซาวนด์การคลอดบุตร([[obstetric ultrasound]])ของเส้นผ่าศูนย์กลางความยาวของกระโหลกศรีษะของทารกในครรภ์ ([[fetal biparietal diameter]] ย่อว่า BPD) ในไตรมาสที่สอง<ref name=Kieler2003/> ส่วนขั้นตอนวิธีการอื่นนั้นต้องคำนึงถึงตัวแปรที่มีความหลากหลายอื่นๆ เช่่น เป็นลูกคนแรกหรือเป็นลูกคนที่เท่าไหร่ (เช่น หญิงตั้งครรภ์ที่เป็น ผู้ที่คลอดบุตร/ตั้งครรภ์ครั้งแรก(primipara) หรือผู้ที่คลอดบุตรมาแล้วหลายครั้ง/ตั้งครรภ์มาแล้วหลายครั้ง([[multipara]]) เชื้อชาติของ,อายุ, ระยะของรอบเดือนและความสม่ำเสมอของมารดา) แต่ข้อมูลเหล่านี้ก็ไม่ค่อยได้ใช้ในสำหรับผู้ที่เชี่ยวชาญด้านสุขภาพ. เพื่อให้มีสิ่งอ้างอิงถึงมาตรฐาน ระยะเวลาของการตั้งครรภ์โดยปกติทั่วไปคือ 280 วัน (หรือ 40 สัปดาห์) ของอายุครรภ์
 
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน([[standard deviation]]) คือ 8-9 วันเป็นวันที่ครบรอบการคำนวณเป็นวิธีการที่ถูกต้องที่สุด ความหมายก็คือ น้อยกว่าร้อยละ 5 ของการเกิด เกิดในวันที่ครบ 40 สัปดาห์ของอายุครรภ์ มีร้อยละ 50 เกิดภายในสัปดาห์ของช่วงระยะเวลานี้ และประมาณร้อยละ 80 ภายใน 2 สัปดาห์<ref name=Kieler2003>{{cite journal |author=Dr H. Kieler, O. Axelsson, S. Nilsson, U. Waldenströ|title=The length of human pregnancy as calculated by ultrasonographic measurement of the fetal biparietal diameter|journal=Ultrasound in Obstetrics & Gynecology|pages=353–357|volume=6|issue=5 |year=1995|doi=10.1046/j.1469-0705.1995.06050353.x|pmid=8590208}}</ref> เป็นการประมาณของวันที่ครบกำหนดคลอด,แอพพลิเคชั่นที่อยู่บนมือถือ([[mobile app]]s) มีความสอดคล้องกับการประมาณการแบบอื่นๆ และมีความถูกต้องกับปีอธิกสุรทิน([[leap year]] คือวันที่เดือนกุมภาพันธ์มี 29 วัน) ในขณะที่วงล้อตั้งครรภ์ที่ทำจากกระดาษสามารถแตกต่างจากกันโดย 7 วันและมักจะไม่ถูกต้องนักสำหรับปีอธิกสุรทิน <ref name="pmid24036402">{{cite journal | author = Chambliss LR, Clark SL | title = Paper gestational age wheels are generally inaccurate | journal = Am. J. Obstet. Gynecol. | volume = 210 | issue = 2 | pages = 145.e1–4 | year = 2014 | pmid = 24036402 | doi = 10.1016/j.ajog.2013.09.013 }}</ref>
 
ผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพจะใช้กฏ [[Naegele's rule]] กันมาก(กฏนี้มักจะใช้กับผู้ที่มีประจำเดือนมาสม่ำเสมอและไม่ได้คุมกำเนิด) ซึ่งได้รับการพัฒนาในช่วงศตวรรษที่ 19. การคำนวณวันครบกำหนดคาดมาจากวันแรกของรอบระยะเวลาที่ผ่านมาปกติประจำเดือน (LMP ย่อมากจาก Last menstrual period[ช่วงที่มีประจำเดือนครั้งสุดท้าย] หรือ LNMP ย่อมาจาก Last&nbsp;normal&nbsp;menstrual period[ช่วงที่มีประจำเดือนครั้งสุดท้ายปกติ]) โดยไม่คำนึงถึงปัจจัยที่รู้กันโดยอาจจะคลาดเคลื่อน เช่น ความสั้นยาวของรอบของประจำเดือน การตั้งครรภ์ปกติโดยมากจะอยู่ที่ 40 สัปดาห์ ตามวิธีการ LNMP-based method เช่น สมมติว่าผู้หญิงมีความยาวรอบประจำเดือนตามที่คาดการณ์ไว้ 28 วันและการรตั้งครรภ์จะอยู่ในวันที่ 14 ของรอบนั้น
เส้น 135 ⟶ 136:
===ตัวบ่งชี้ทางชีวภาพ===
{{Further|Pregnancy test}}
การตรวจสอบการตั้งครรภ์สามารถทำได้โดยใช้อย่างใดอย่างหนึ่งหรือมากกว่า[[pregnancy test|การทดสอบการตั้งครรภ์]]ต่างๆ ,<ref name="pregnancy">{{cite web | title = NHS Pregnancy Planner | url = http://www.nhs.uk/Planners/Pregnancycareplanner | publisher = [[National Health Service (NHS)]] | date = 19 March 2010 | accessdate =19 March 2010 }}</ref> สามารถตรวจพบฮอร์โมนที่เกิดจาก[[placenta|รก]]ที่เกิดขึ้นใหม่ [[Biomarker (medicine)|ตัวบ่งชี้ทางชีวภาพ]]ของการตั้งครรภ์ ซึ่งสามารถทราบได้จากผลการตรวจเลือดและการตรวจปัสสวะสามารถตรวจพบใน 12 วันหลังจากการปฏิสนธิ.<ref>{{cite journal |doi=10.1007/BF02066422 |author=Qasim SM, Callan C, Choe JK |title=The predictive value of an initial serum beta human chorionic gonadotropin level for pregnancy outcome following in vitro fertilization |journal=Journal of Assisted Reproduction and Genetics |volume=13 |issue=9 |pages=705–8 |year=1996 |pmid=8947817 }}</ref> ผลการตรวจการตั้งครรภ์จากเลือดตรวจสอบได้ละเอียดกว่าการตรวจจากผลปัสสวะ(ให้ผลน้อยในกรณีผลตรวจเชิงลบที่เป็นเท็จ).<ref>{{cite web |url=http://www.bestbets.org/bets/bet.php?id=936 |title=BestBets: Serum or Urine beta-hCG? }}</ref> สามารถ[[pregnancy test|ตรวจการตั้งครรภ์]]ได้จากที่บ้านซึ่งเป็นการตรวจ[[urine|ปัสสวะ]] โดยปกติแล้วจะสามารถตรวจพบได้ 12 ถึง 15 วันหลังจากเกิดการปฏิสนธิ การตรวจเลือดสามารถตรวจสอบได้ตั้งแต่วันที่ตัวเอ็มบริโอได้เกิดการตั้งครรภ์แล้ว การทดสอบห่าง 48 ชั่วโมเป็นประโยชน์ในเรื่องการตั้งครรภ์ การตรวจสอบระดับของฮอร์โมนที่เรียกว่า ฮอร์โมน[[progesterone|โพรเจสเทอโรน]]จะช่วยตรวจสอบได้ว่าทารกในครรภ์มีโอกาสรอดหรือไม่ในผู้ที่เกิดภาวะ[[threatened miscarriage|แท้งคุกคาม]] (มีเลือดออกในครรภ์).<ref name="pmid23045257">{{cite journal | author = Verhaegen J, Gallos ID, van Mello NM, Abdel-Aziz M, Takwoingi Y, Harb H, Deeks JJ, Mol BW, Coomarasamy A | title = Accuracy of single progesterone test to predict early pregnancy outcome in women with pain or bleeding: meta-analysis of cohort studies | journal = BMJ (Clinical research ed.) | volume = 345 | pages = e6077 | date = Sep 27, 2012 | pmid = 23045257 | pmc = 3460254 | doi = 10.1136/bmj.e6077 }}</ref>
 
===อัลตร้าซาวน์===
เส้น 169 ⟶ 170:
การเพิ่มขึ้นของปริมาณของน้ำหนักตัวที่ดีต่อสุขภาพในระหว่างตั้งครรภ์มีความแตกต่างกันไป.<ref name=AHRQ-weight>{{cite web|title=Outcomes of Maternal Weight Gain|url=http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmedhealth/PMH0007502/|work=Evidence Reports/Technology Assessments, No. 168|publisher=Agency for Healthcare Research and Quality|accessdate=23 June 2013|author=Viswanathan M|coauthors=Siega-Riz, AM; Moos, M-K; et al|date=May 2008}}</ref> น้ำหนักที่เพิ่มขึ้น เป็นเพียงบางส่วนที่เกี่ยวข้องกับน้ำหนักตัวของทารกและรกเพิ่มขึ้น และรวมถึงของเหลวพิเศษสำหรับการไหลเวียนและน้ำหนักที่จำเป็นในการให้สารอาหารเพื่อการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์<ref name=IQWiG-Weight>{{cite web|last=Institute for Quality and Efficiency in Health Care|title=Weight gain in pregnancy|url=http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmedhealth/PMH0005004/|work=Fact sheet|publisher=Institute for Quality and Efficiency in Health Care|accessdate=23 June 2013}}</ref> น้ำหนักที่เพิ่มขึ้นจำเป็นที่สุดเกิดขึ้นในภายหลังที่มีการตั้งครรภ์<ref name=IQWiG-Weight />
 
[[Institute of Medicine|สถาบันทางการแพทย์]] แนะนำว่าโดยภาพรวมของน้ำหนักในระหว่างการตั้งครรภ์ของผู้ที่มีน้ำหนักตัวปกติ([[body mass index|ดัชนีมวลกาย]]ที่อยู่ระหว่าง 18.5–24.9) น้ำหนักควรจะมีการขึ้น 11.3–15.9&nbsp;กิโลกรัม (25–35 ปอนด์) สำหรับการตั้งครรภ์เดี่ยว.<ref>{{cite web|url=http://iom.edu/Reports/2009/Weight-Gain-During-Pregnancy-Reexamining-the-Guidelines.aspx |title=Weight Gain During Pregnancy: Reexaminging the Guidelines, Report Brief |accessdate=29 July 2010| work=Institute of Medicine}}</ref> ในหญิงตั้งครรภ์ที่น้ำหนักน้อย (คือค่าดัชนีมวลกายน้อยกว่า 18.5) น้ำหนักควรจะเพิ่ม 12.7–18&nbsp;กิโลกรัม (28–40&nbsp;ปอนด์), ในขณะที่ผู้มี[[overweight|น้ำหนักเกิน]] (ค่าดัชนีมวลกายอยู่ระหว่าง 25–29.9) แนะนำว่าน้ำหนักควรจะขึ้น 6.8–11.3&nbsp;กิโลกรัม (15–25&nbsp;ปอนด์) และสำหรับผู้ที่เป็น[[obese|โรคอ้วน]] (ค่าดัชนีมวลกาย>30) น้ำหนักควรจะเพิ่มขึ้น 5–9&nbsp;กิโลกรัม (11–20&nbsp;ปอนด์).<ref name="pmid23262962">{{cite journal|last=American College of Obstetricians and Gynecologists|title=Weight Gain During Pregnancy|journal=Obstet Gynecol|date=January 2013|volume=121|issue=1|pages=210–12|pmid=23262962|doi=10.1097/01.AOG.0000425668.87506.4c}}</ref>
 
ในระหว่างการตั้งครรภ์ผู้ที่มีน้ำหนักมากเกินไปและน้อยเกินไปมีผลกระทบต่อทั้งตัวมารดาเองและทารกในครรภ์<ref name=IQWiG-Weight /> การเข้าไปดูแลให้เกิดประสิทธิภาพมากที่สุดในเรื่องการเพิ่มของน้ำหนักตัวของหญิงตั้งครรภ์ที่มีน้ำหนักตัวไม่ถึงเกณฑ์ยังไม่เป็นที่ชัดเจนนัก <ref name=IQWiG-Weight /> การมีน้ำหนักเกินหรือมากเกินไปในการตั้งครรภ์จะเพิ่มความเสี่ยงของภาวะแทรกซ้อนสำหรับแม่และทารกในครรภ์ รวมไปถึงการผ่าตัดคลอด, ความดันโลหิตสูงในระหว่าตั้งครรภ์([[gestational hypertension]]), ภาวะครรภ์เป็นพิษ([[pre-eclampsia]]), ทารกมีขนาดโตกว่าปกติ([[macrosomia]]) และการคลอดติดไหล่([[shoulder dystocia]]).<ref name=AHRQ-weight /> อีกทั้งลดน้ำหนักหลังตั้งครรภ์ได้ยาก.<ref name=AHRQ-weight /><ref name=NIHR-weight />
เส้น 316 ⟶ 317:
{{Pathology of pregnancy, childbirth and the puerperium}}
{{เพศ}}
{{Link FA|af}}
{{Link FA|mk}}
 
[[หมวดหมู่:ภาวะเจริญพันธุ์]]
[[หมวดหมู่:การกำเนิด]]
[[หมวดหมู่:การตั้งครรภ์]]
 
{{Link FA|af}}
{{Link FA|mk}}