ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ธงศาสนาคริสต์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
DanMTaylor (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
DanMTaylor (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มข้อมูล
บรรทัด 1:
[[File:Christian flag.svg|right|400px|thumb|ธงศาสนาคริสต์ หรือ ธงคริสเตียน]]
[[File:New Improved Christian Flag (Orthodox Church-USA).png|right|300px|thumb|ธงคริสเตียน รูปแบบ[[นิกายอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์]]]]
[[File:Flag of the Vatican City.svg|right|300px|thumb|ธงศาสนาคริสต์ [[นิกายโรมันคาทอลิก]] หรือ ธงนครวาติกัน]]
'''ธงศาสนาคริสต์''' หรือ '''ธงคริสเตียน''' ({{lang-en|Christian Flag}}) เป็นสัญลักษณ์ของศาสนาคริสต์[[นิกายโปรเตสแตนต์]]<ref>"Resolution". Federal Council Bulletin (Religious Publicity Service of the Federal Council of the Churches of Christ in America). 25-27. 1942.</ref> ถูกออกแบบในช่วงคริสศตวรรษที่ 20 และได้รับความนิยมมากที่สุดในกลุ่มของโบสถ์นิกายโปรเตสแตนต์ ในทวีป[[อเมริกา]] [[แอฟริกา]] และ[[ละตินอเมริกา]]<ref> Fifty-Eighth Annual Session (in English). Order of the Eastern Star. 1932. "Today the Christian Flag is flying over Europe, Asia and Africa, as well as America."</ref> โดยสีพื้นของธงเป็นสีขาว ประกอบด้วยสัญลักษณ์[[กางเขน]]ละตินสีแดง บนกรอบพื้นสีน้ำเงินสีเหลี่ยมจตุรัส
 
เส้น 20 ⟶ 22:
องค์กรคริสเตียนทั่วโลกและสภาโบสถ์แห่งชาติ ได้ประสบความสำเร็จในขณะนั้นโดยสภาโบสถ์แห่งชาติได้ประกาศให้ประดับธงคริสเตียนพร้อมกันทั่วประเทศในวันที่ 23 มกราคม ค.ศ.1942<ref>"Resolution". Federal Council Bulletin (Religious Publicity Service of the Federal Council of the Churches of Christ in America). 25-27. 1942.</ref> นักเขียนเพลงที่มีชื่อเสียงได้ประพันธ์เพลงประกอบธงคริสต์เตียนในชื่อ "คริสเตียน แฟลก" และได้รับเกียรติในการเรียบเรียงจาก อาร์ฮันติงตัน วูดแมน<ref>"Resolution". Federal Council Bulletin (Religious Publicity Service of the Federal Council of the Churches of Christ in America). 25-27. 1942.</ref> ซึ่งธงคริสเตียนและเพลงคริสเตียนแฟลกนี้ไม่ได้มีการจดสิทธิบัตรแต่อย่างใด<ref>James R. Pollock, Ph.D., D.D. (23 March 1996). Congratulations to The Christian Flag, Fourth Edition (in English).</ref> เนื่องจากเป็นการร่วมมือกันในการสรรค์สร้างขึ้นมาในหมู่คริสตชน และเมื่อวันอาทิตย์ที่ 26 กันยายน ค.ศ.1997 ที่ผ่านมา เป็นวันฉลองวันครบรอบ 100 ปี ธงคริสเตียน
 
== การประกาศใช้ ==
[[File:ChristianFlagEtc CovenantPresbyterianLongBeach20050213 CopyrightKaihsuTai.jpg|left|300px|thumb|ธงคริสเตียน (ขวา) ประดับคู่กับธงชาติสหรัฐอเมริกา (ซ้าย) ในโบสถ์ รัฐ[[แคลิฟอร์เนีย]] โดยบนยอดเสาธงทั้งสองประดับด้วยนกอินทรีและกางเขน]]
ธงคริสเตียนได้รับการยอมรับเป็นครั้งแรกโดยนิกายโปรเตสแตนต์ ได้ประกาศใช้ในประเทศสหรัฐอเมริกา ในปี 1980 หลายสถาบันได้รณรงค์ให้จัดแสดงไว้ภายในโบสถ์ ในระหว่างช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง
โดยธงคริสเตียนจะประดับพร้อมกับธงชาติสหรัฐอเมริกา ในคริสตจักร[[นิกายลูเธอร์แรน]] หลายคนที่มีภูมิลำเนาเดิมที่อาศัยอยู่ในเยอรมัน ต้องการจะแสดงความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกันกับสหรัฐอเมริกา ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง หลังจากนั้นธงคริสเตียนได้แพร่หลายไปยังนอกทวีปอเมริกา กับมิชชันนารีนิกายโปรเตสแตนต์ เราสามารถเห็นธงคริสเตียนได้จากโบสถ์โปรเตสแตนต์ทั่วโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในละตินอเมริกาและแอฟริกา และนิกายโรมันคาทอลิก ก็จะประดับธงคริสเตียนในพระราชพิธีศักดิ์สิทธ์ในเร็วๆนี้
 
== คำปฏิญาณ ==
"เราสัญญาว่าจะจงรักภักดีต่อคริสต์ศาสนาและพระผู้ช่วยให้รอด ซึ่งราชอาณาจักรทั้งหลายต้องให้ความเคารพ พวกเราพี่น้องคริสเตียนและมวลมนุษยชาติจะต้องเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน และเราจะร่วมกันประกาศข่าวประเสริฐ"
 
== ธงต่างประเทศ ที่มีกางเขนประกอบ ==
ธงที่มีกางเขนประกอบทั้งหมดนี้ ขึ้นอยู่กับวัฒนธรรมของประเทศนั้นๆ เช่น
ธงประจำชาติของฟินแลนด์ธงของหมู่เกาะแฟโร ธงประจำชาติของประเทศไอซ์แลนด์ธงประจำชาติของประเทศนอร์เวย์และสวีเดนธงประกอบด้วยกางเขนคริสเตียนที่เป็นตัวแทนของศาสนาคริสต์<ref>Temperman, Jeroen (2010). State-Religion Relationships and Human Rights Law: Towards a Right to Religiously Neutral Governance (in English). Brill Academic. p. 88. ISBN 9789004181489. "Many predominantly Christian states show a cross, symbolising Christainity, on their national flag. Scandinavian crosses or Nordic crosses on the flags of the Nordic countries–Denmark, Finland, Iceland, Norway and Sweden–also represent Christianity."</ref><ref>Evans, Andrew (2008). Iceland (in English). Bradt Travel Guides. p. 27. ISBN 9781841622156. "Legend states that a red cloth with the white cross simply fell from the sky in the middle of the 13th-century Battle of Valdemar, after which the Danes were victorious. As a badge of divine right, Denmark flew its cross in the other Scandinavian countries it ruled and as each nation gained independence, they incorporated the Christian symbol."</ref>
 
ธงยูเนี่ยนแจ็ค หรือ ธงสหราชอาณาจักรเป็นธงที่มีความหมายถึงสามนักบุญอุปถัมภ์คริสเตียน นักบุญของอังกฤษแสดงโดยกากบาทสีแดงของเซนต์จอร์จ นักบุญของไอร์แลนด์แสดงโดยไขว้สีแดงของนักบุญแพททริค และนักบุญของสก็อตแลนค์แสดงโดยไขว้ของเซนต์แอนดรู<ref>Temperman, Jeroen (2010). State-Religion Relationships and Human Rights Law: Towards a Right to Religiously Neutral Governance (in English). Brill Academic Publishers. p. 88. ISBN 9789004181489. "Many predominantly Christian states show a cross, symbolising Christianity, on their national flag. The Union flag of the United Kingdom of Great Britain and Northern-Ireland makes reference to three Christian patron saints: the patron saint of England, represented by the red cross of Saint George, the patron saint of Ireland, represented by the red saltire of Saint Patrick, and the patron saint of Scotland, represented by the saltire of Saint Andrew."</ref>
 
นอกจากนี้ธงประจำชาติของกรีซ และธงประจำชาติของวิตเซอร์แลนด์ มีกางเขนพระคริสต์เพื่อเป็นตัวแทนของความเชื่อ<ref>Foley, Carol A. (1 January 1996). The Australian Flag (in English). Federation Press. p. 10. ISBN 9781862871885. "The Christian cross, for instance, is one of the oldest and most widely used symbols in the world, and many European countries, such as the United Kingdom, Norway, Sweden, Finland, Denmark, Iceland, Greece and Switzerland, adopted and currently retain the Christian cross on their national flags."</ref>
 
ธงของสาธารณรัฐโดมินิกัน แสดงให้เห็นถึงสามสีที่ข้ามประกอบด้วยยืนทรินิตี้ "และ" เสื้อแขนภาพบนธงประจำชาติของสโลวาเกียจะแสดงข้ามคู่ "<ref>Temperman, Jeroen (2010). State-Religion Relationships and Human Rights Law: Towards a Right to Religiously Neutral Governance (in English). Brill Academic. p. 88. ISBN 9789004181489. "The cross on the flag of Dominica represents Christianity while the three colours of which the cross consists stand for the Trinity. The coat of arms depicted on the flag of Slovakia shows a double cross. The flag of the Dominican Republic represents Christianity while the three colours of which the cross consists stand for the Tinity. The coat of arms depicted on the flag of Slovakia shows a double cross. The flag of the Dominican Republic shows the words "God, Fatherland, Liberty", an opened bible and a cross (depicted in the coat of arms which is represented in the centre). The 'five-cross-flag' of George shows four small crosses and a large St. George's Cross, referring to the patron saint of Georgia (the national flag of England shows the St. George's Cross as well). The white cross on the flag of Greece symbolizes Greek Orthodoxy. The flag of Moldova shows its coat of arms in the centre: an eagle with a Christian Orthodox cross in its beak. The coat of arms of Serbia, as depicted on the national flag, also shows an Orthodox cross."</ref>
 
ธงของสาธารณรัฐโดมินิกันยังแสดงให้เห็น พระคัมภีร์และกางเขน
 
ธงประจำชาติของจอร์เจีย ธงประจำชาติมอลโดวา และ ธงประจำชาติของประเทศเซอร์เบียทั้งหมด แสดงให้เห็นถึงการเป็นตัวแทนของกางเขนพระคริสต์
 
ธงประจำชาติของโปรตุเกสมีสัญลักษณ์คริสเตียนแบกห้าบาดแผลของพระคริสต์<ref>McCandless, Byron; Grosvenor, Gilbert Hovey (1917). Flags of the World (in English). National Geographic Society. p. 403. "The Portugal man-of-war (1182) and merchant flags (1183 and 1184) bore the same distinguishing features— five shields with the five circles representing the five wounds of Christ, the castles surrounding the inner shields and the armillary sphere, reminiscent of that nation's maritime prowess in the sixteenth century, 200 years ago, as they do now."</ref>
 
<gallery>
File:Flag of Denmark.svg|[[ธงชาติเดนมาร์ก]]
File:Flag_of_Sweden.svg|[[ธงชาติสวีเดน]]
File:Flag of Norway.svg|[[ธงชาตินอร์เวย์]]
File:Flag of Iceland.svg|[[ธงชาติไอซ์แลนด์ ]]
File:Flag of Finland.svg|[[ธงชาติฟินแลนด์]]
File:Flag of the United Kingdom.svg|[[ยูเนียนแจ็ก|ธงสหราชอาณาจักร]]
File:Flag of Switzerland.svg|[[ธงชาติสวิตเซอร์แลนด์]]
File:Flag of Greece.svg|[[ธงชาติกรีซ]]
File:Flag of Dominica.svg|[[ธงชาติสาธารณรัฐโดมินิกัน]]
File:Flag of Slovakia.svg|[[ธงชาติสโลวาเกีย]]
File:Flag of Portugal.svg|[[ธงชาติโปรตุเกส]]
File:Flag of Georgia.svg|[[ธงชาติจอร์เจีย]]
File:Flag of Tonga.svg|[[ธงชาติตองกา]]
</gallery>
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}