ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จักรพรรดิไทโช"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 25:
}}
 
'''สมเด็จพระจักรพรรดิโยะชิฮิโตะ''' ({{ญี่ปุ่น|嘉仁天皇|''โยะชิฮิโตะ เท็นโน''}}) หรือพระนามตามชื่อรัชสมัยคือ '''สมเด็จพระจักรพรรดิไทโช''' ({{ญี่ปุ่น|大正天皇|ไทโช-เท็นโน}}) ([[31 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2422]] - [[25 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2469]]) ทรงเป็นจักรพรรดิพระองค์ที่ 123 ทรงปกครอง[[จักรวรรดิญี่ปุ่น]]ในฐานะสมเด็จพระจักรพรรดิแห่งญี่ปุ่น และพระประมุขแห่งเกาหลี เป็นเวลา 14 ปี
 
== พระราชประวัติ ==
'''เจ้าชายโยะชิฮิโตะ''' เสด็จพระราชสมภพที่พระราชวังอะโอะยะมะ ใน [[กรุงโตเกียว]] เป็นพระราชโอรสใน[[สมเด็จพระจักรพรรดิเมจิ]] ที่ประสูติแต่[[นะรุโกะ ยะนะงิวะระ|พระสนมนะรุโกะ]] เนื่องจากเป็นพระราชโอรสองค์เดียวในจักรพรรดิเมจิ ทำให้พระองค์ต้องถูกชุบเลียงโดย[[สมเด็จพระจักรพรรดินีโชเก็ง]] ผู้ทรงเป็นพระอัครมเหสี ภายหลังประสูติได้ 6 วัน ทรงได้รับราชทินนามเป็น ''เจ้าฮะรุ'' เมื่อวันที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2422 เจ้าฮะรุ ทรงมีพระวรกายอ่อนแอมาตั้งแต่ประสูติ ด้วยสาเหตุทางพันธุกรรมจากพระราชบิดา ก่อนหน้าที่พระองค์จะประสูติ พระเชษฐาและพระเชษฐภคินีของพระองค์ได้สิ้นพระชนม์ไปก่อนถึง 4 พระองค์ โดย 2 พระองค์แท้งในครรภ์และ 2 พระองค์สิ้นพระชนม์ตั้งแต่ทารก
'''เจ้าชายโยะชิฮิโตะ''' เป็นพระราชโอรสใน[[สมเด็จพระจักรพรรดิเมจิ]] (มุสึฮิโตะ) ประสูติแต่[[นะรุโกะ ยะนะงิวะระ|พระสนมนะรุโกะ]] (สกุลเดิม ยะนะงิวะระ) พระราชสมภพเมื่อวันที่ [[31 สิงหาคม]] ปีเมจิที่ 12 (ค.ศ.1879,พ.ศ. 2422) ณ [[กรุงโตเกียว]]
 
เมื่อพระองค์พระชนมายุได้ 5 ชันษา พระองค์ต้องประทับอยู่ที่พระราชวังอะโอะยะมะอย่างสันโดษกับเหล่าข้าราชบริพาร ในแต่ละวัน พระองค์ทรงเรียนหนังสือในวิชา การอ่านเขียน, คณิตศาสตร์ และศีลธรรในช่วงเช้า และกีฬาในช่วงบ่าย แต่พัฒนาการของพระองค์ดำเนินอย่างช้ามาก เนื่องจากพระพยานามันที่ไม่แข็งแรงและทรงประชวรบ่อย ในปี พ.ศ. 2429 พระองค์เข้ารับการเรียนการสอนร่วมกับเพื่อนร่วมห้องราว 15-20 คนที่ถูกคัดสรรมาจากบรรดาบุตรหลานของเจ้านายชั้นอนุวงศ์และขุนนาง
บันทึกเรื่องราวเกี่ยวกับสมเด็จพระจักรพรรรดิไทโชมีอยู่น้อยมากในเอกสาร[[ภาษาญี่ปุ่น]] และยิ่งน้อยลงไปใหญ่ในเอกสาร[[ภาษาอังกฤษ]] จนพระองค์แทบไม่เป็นที่รู้จักหรือจดจำในปัจจุบัน เมื่อใดที่มีผู้กล่าวถึงพระองค์ ถ้อยคำที่ออกมามักไม่ค่อยเป็นไปในทางสรรเสริญเท่าไหร่ ดังที่นักเขียนผู้หนึ่งระบุว่า
 
พระองค์ได้รับประกาศเป็นองค์รัชทายาท เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2430 ในวันคล้ายวันพระประสูติครบ 8 ชันษาของพระองค์ โดยทรงรับการสถาปนาขึ้นเป็นมกุฎราชกุมารอย่างเป็นทางการในวันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2430
{{คำพูด|'''ทรงไร้ซึ่งความละเอียดอ่อน และหยาบคาย ครั้งยังทรงพระยศเป็น[[มกุฎราชกุมาร]] ทรงสำรวยจนน่าขัน ทั้งขี้โอ่จนน่าสมเพช
พระองค์มีพระราชประสงค์จะเลียนแบบ[[สมเด็จพระจักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 แห่งเยอรมนี]]มาก จนต้องไว้พระมัสสุลงขี้ผึ้งให้งอนเป็นคันจับแบบพระเจ้าไกเซอร์วิลเฮล์มที่ 2 ซึ่งดูปัญญาอ่อนเมื่ออยู่บนพระพักตร์เจ้าชายญี่ปุ่น พอๆกับที่ปรากฏบนพระพักตร์ของ[[สมเด็จพระจักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 แห่งเยอรมนี]]เอง'''}}
<ref>Jerrold M. Packard, 'Sons of Heaven: A Portrait of the Japanese Monarchy; London: Queen Ann Press, 1988</ref>
 
[[File:Yōshū Chikanobu Asukayama Park.jpg|thumb|left|320px|จักรพรรดิเมจิและจักรพรรดินีโชเก็งและมกุฎราชกุมารโยะชิฮิโตะ พร้อมด้วยเหล่าพระสนม ที่[[สวนสาธารณะอะซุกะยะมะ|สวนอะซุกะยะมะ]]]]
แต่ที่จริงแล้ว สมเด็จพระจักรพรรดิไทโชทรงเป็นคนแปลกไม่เหมือนใครในหลายทาง และยังมีรายละเอียดอื่นในพระราชประวัติซึ่งซับซ้อนเกินกว่าจะมองเพียงฉาบฉวยแต่ภายนอกเท่านั้น ทางที่ดี เราควรรำลึกไว้ด้วยว่าตอนต้นรัชกาล เหล่าพสนิกรพากันเทิดทูนและชื่นชมสมเด็จพระจักรพรรดิไทโชมากมายเพียงใด
== ชีวิตส่วนพระองค์ ==
 
พลังอันทรงอำนาจและดึงดูดใจของรัชสมัยไทโช ผนวกกับการเป็นพระราชโอรสและรัชทายาทใน[[สมเด็จพระจักรพรรดิเมจิ]]ล้วนส่งเสริมภาพลักษณ์ในทางที่ดีให้แก่รัชกาลนี้ทั้งสิ้น นอกจากนี้เวลาที่เสด็จขึ้นครองราชย์ไม่ได้ห่างจากช่วงที่ราษฎรเฉลิมฉลองพิธีอภิเษกสมรสของพระองค์เมื่อวันที่ [[10 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2443]]สักเท่าใดนัก
 
== ครอบครัว ==
เจ้าชายโยะชิฮิโตะ อภิเษกสมรสกับซะดะโกะ คุโจ ต่อมาภายหลังได้รับการสถาปนาเป็น [[สมเด็จพระจักรพรรดินีเทเม]] ซึ่งเป็นพระธิดาใน[[เจ้าชายคุโจ มิชินะกะ|มิชิทะกะ คุโจ]] ซึ่งเป็นคนจาก[[ฟุจิวะระ|วงศ์ตระกูลฟุจิวะระ]] มีพระโอรสธิดาทั้งหมด 4 พระองค์
# [[จักรพรรดิโชวะ]] (พ.ศ. 2444 – 2532) พระนามเดิม ''เจ้าชายฮิโระฮิโตะ เจ้ามิชิ'' เสกสมรสกับ[[สมเด็จพระจักรพรรดินีโคจุง|เจ้าหญิงนะงะโกะแห่งคุนิ]] มีพระราชโอรส-ธิดาเจ็ดพระองค์
เส้น 46 ⟶ 41:
# [[เจ้าชายโนบุฮิโตะ ทาคามัตสุ|เจ้าชายโนะบุฮิโตะ เจ้าทะกะมะสึ]] (พ.ศ. 2448 - 2530) พระนามเดิม ''เจ้าชายโนะบุฮิโตะ เจ้าเทะรุ'' เสกสมรสกับ[[เจ้าหญิงคิกุโกะแห่งทะกะมะสึ|คิกุโกะ โทะกุงะวะ]] ไม่มีพระทายาท
# [[เจ้าชายทาคาฮิโตะ มิกะซะ|เจ้าชายทะกะฮิโตะ เจ้ามิกะซะ]] (พ.ศ. 2458 - ปัจจุบัน) พระนามเดิม ''เจ้าชายทะกะฮิโตะ เจ้าซุมิ'' เสกสมรสกับ[[เจ้าหญิงยุริโกะแห่งมิกะซะ|ยุริโกะ ทะกะงิ]] มีพระโอรส-ธิดาห้าพระองค์
 
== ขึ้นครองราชย์ ==
''รอเพิ่มเติมเนื้อหา''
 
== สวรรคต ==
เส้น 54 ⟶ 46:
 
== พระราชอิสริยยศ ==
{{กล่องข้อมูล พระยศ
|พระนาม = สมเด็จพระจักรพรรดิโยะชิฮิโตะ
|ธงพระยศ = Flag_of_the_Japanese_Emperor.svg
|ธงประจำพระองค์ =
|การเรียกขาน = เท็นโนเฮกะ (天皇陛下)
|การแทนตน =
|การขานรับ = เฮกะ
|ลำดับโปเจียม =
}}
 
* '''31 สิงหาคม 1879 – 6 กันยายน 1879''': เจ้าชายโยะชิฮิโตะ
* '''6 กันยายน 1879 – 3 พฤศจิกายน 1888''': เจ้าฮะรุ
เส้น 60 ⟶ 62:
 
== อ้างอิง ==
{{Commons category|Taishō Emperor|จักรพรรดิไทโช}}
{{รายการอ้างอิง}}