ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สะบาโต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
DanMTaylor (คุย | ส่วนร่วม)
แก้คำผิด เรียบเรียงบรรทัด แบ่งหัวข้อ
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
{{คริสต์}}
'''วันสะบาโต''' ([[ภาษาอังกฤษ]]: Sabbath) เป็นวันสำคัญทาง[[ศาสนายิว]] และ[[ศาสนาคริสต์]]บางคณะนิกาย สะบาโต มาจาก[[ภาษาฮีบรู]]
'''วันสะบาโต''' ([[ภาษาอังกฤษ]]: Sabbath) เป็นวันสำคัญทาง[[ศาสนายิว]] และ[[ศาสนาคริสต์]] สะบาโต มาจาก[[ภาษาฮีบรู]] "ซับบาธ" แปลว่า "พัก" พระเจ้าทรงสร้างโลก เว้นและพักวันที่ 7 เพื่อให้มนุษย์ได้ปฏิบัติเป็นแบบอย่าง ถือเป็นวันบริสุทธิ์ห้ามทำกิจกรรมใดๆ ทุกอย่างไดถือว่าวันนี้เป็นวันพักผ่อน เป็นวันหยุดสุดสัปดาห์ ให้ทำกิจกรรมที่เป็นกุศล เช่น การอธิษฐาน การอ่านพระคัมภีร์ และขอบคุณพระเจ้า
ได้ถือว่าวันนี้เป็นวันพักผ่อน เป็นวันหยุดสุดสัปดาห์ ให้ทำกิจกรรมที่เป็นกุศล เช่น การสวดมนต์อธิษฐานภาวนาการอ่านพระคัมภีร์ และขอบคุณพระเจ้า
 
== คริสเตียนกับวันสะบาโต ==
ในพระคริสตธรรมคัมภีร์มีข้อพระธรรมหลายข้อที่กล่าวถึงคำบัญชาของพระเจ้าให้ถือรักษาวันสะบาโต และมีคำตำหนิอย่าง รุนแรงสำหรับคนที่ไม่ถือรักษาวันสะบาโต(อพย.๓๑.๑๒-๑๗ อสย.๕๘.๑๓-๑๔ ยรม.๑๗.๒๑-๒๒ กดว.๑๕.๓๒-๓๖) และคำสั่งเรื่องการถือรักษาวันสะบาโตก็เป็นพระบัญญัติข้อที่๔ของ[[บัญญัติ 10 ประการ]]ที่พระเจ้าทรงประทานผ่านทางท่านโมเสส (อพย.๒๐.๘-๑๑) ซึ่งข้อพระคัมภีร์เหล่านี้ได้สร้างความรู้สึกไม่สบายใจต่อ คริสเตียนจำนวนมาก เนื่องจากเกรงว่าตนเองกำลังละเมิดพระบัญชาเรื่องวันสะบาโต อีกทั้งคริสตจักรคณะต่างๆก็มีความเห็นแตกต่างกัน เกี่ยวกับเรื่องวันสะบาโตเราจะมีคำถามหลักอยู่ ๒ ประการคือ ๑.วันสะบาโตคือวันเสาร์หรือวันอาทิตย์ และ๒.คริสเตียนต้องถือรักษาวันสะบาโตหรือไม่
ในพระคริสตธรรมคัมภีร์มีข้อพระธรรมหลายข้อที่กล่าวถึงคำบัญชาของพระเจ้าให้ถือรักษาวันสะบาโต และมีคำตำหนิอย่าง
รุนแรงสำหรับคนที่ไม่ถือรักษาวันสะบาโต(อพย.๓๑.๑๒-๑๗ อสย.๕๘.๑๓-๑๔ ยรม.๑๗.๒๑-๒๒ กดว.๑๕.๓๒-๓๖) และคำสั่งเรื่องการถือรักษา
วันสะบาโตก็เป็นพระบัญญัติข้อที่๔ของพระบัญญัติสิบประการที่พระเจ้าทรงประทานผ่านทางท่านโมเสส (อพย.๒๐.๘-๑๑) ซึ่งข้อพระคัมภีร์เหล่านี้
ได้สร้างความรู้สึกไม่สบายใจต่อ คริสเตียนจำนวนมาก เนื่องจากเกรงว่าตนเองกำลังละเมิดพระบัญชาเรื่องวันสะบาโต อีกทั้งคริสตจักรคณะต่างๆก็มี
ความเห็นแตกต่างกัน เกี่ยวกับเรื่องวันสะบาโตเราจะมีคำถามหลักอยู่ ๒ ประการคือ ๑.วันสะบาโตคือวันเสาร์หรือวันอาทิตย์ และ๒.คริสเตียนต้อง
ถือรักษาวันสะบาโตหรือไม่
== ๑.วันสะบาโตคือวันเสาร์หรือวันอาทิตย์ ==
วันสะบาโตเป็นวันเสาร์หรือเป็นวันอาทิต์เป็นประเด็นที่มีการถกเถียงกันของคริสเตียนสองกลุ่ม กลุ่มหนึ่งถือว่าวันสะบาโตเป็นวันเสาร์ กลุ่มนี้เรียกว่ากลุ่มคริสตจักรวันเสาร์หรือที่เรียกกันอย่างคุ้นเคยว่าคริสตจักรเซเว่นเดย์แอดแวนทิส กลุ่มนี้ให้ความสำคัญอย่างยิ่งกับการถือรักษาวันสะบาโตในวันเสาร์ จะยึดถือปฏิบัติตามกฎระเบียบเรื่องวันสะบาโตตามที่บันทึกในพระคัมภีร์เดิม นอกจากกฎเรื่องวันสะบาโตแล้
วกลุ่มคริสตจักรวันเสาร์ก็ยังรักษากฎอื่นๆในพระคัมภีร์เดิมด้วย เช่นกฎเกี่ยวกับอาหาร คริสตจักรวันเสาร์เป็นกลุ่มคริสเตียนที่มีวิถีปฏิบัติที่ใกล้เคียงกับศาสนายูดาห์มากที่สุด แต่ก็มีกฎบางประการที่คริสตจักรวันเสาร์ไม่ได้ยึดถือปฏิบัติคือ พิธี[[ปัสคา]]และพิธี[[สุหนัต]] ซึ่งพิธีทั้งสองก็เป็นเรื่องสำคัญในระดับเดียวกันกับวันสะบาโต และพระเจ้าก็ทรงบัญชาอย่างหนักแน่นชัดเจนให้ปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัดเช่นเดียวกับวันสะบาโต (อพย.๑๒.๑๔ ปฐก.๑๗.๑๐-๑๔) คำถามที่ตามมาก็คือกลุ่มคริสตจักรวันเสาร์ใช้หลักเกณฑ์อะไรในการที่จะเลือกปฏิบัติพระบัญญัติบางข้อ และไม่ปฏิบัติตามพระบัญญัติบางข้อ
เป็นวันเสาร์ กลุ่มนี้เรียกว่ากลุ่มคริสตจักรวันเสาร์หรือที่เรียกกันอย่างคุ้นเคยว่าคริสตจักรเซเว่นเดย์แอดแวนทิส กลุ่มนี้ให้ความสำคัญอย่างยิ่งกับ
การถือรักษาวันสะบาโตในวันเสาร์ จะยึดถือปฏิบัติตามกฎระเบียบเรื่องวันสะบาโตตามที่บันทึกในพระคัมภีร์เดิม นอกจากกฎเรื่องวันสะบาโตแล้
วกลุ่มคริสตจักรวันเสาร์ก็ยังรักษากฎอื่นๆในพระคัมภีร์เดิมด้วย เช่นกฎเกี่ยวกับอาหาร คริสตจักรวันเสาร์เป็นกลุ่มคริสเตียนที่มีวิถีปฏิบัติที่ใกล้
เคียงกับศาสนายูดายมากที่สุด แต่ก็มีกฎบางประการที่คริสตจักรวันเสาร์ไม่ได้ยึดถือปฏิบัติคือ พิธีปัศคาและพิธีสุหนัต ซึ่งพิธีทั้งสองก็เป็น
เรื่องสำคัญในระดับเดียวกันกับวันสะบาโต และพระเจ้าก็ทรงบัญชาอย่างหนักแน่นชัดเจนให้ปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัดเช่นเดียวกับวันสะบาโต (อพย.
๑๒.๑๔ ปฐก.๑๗.๑๐-๑๔) คำถามที่ตามมาก็คือกลุ่มคริสตจักรวันเสาร์ใช้หลักเกณฑ์อะไรในการที่จะเลือกปฏิบัติพระบัญญัติบางประการ และไม่
ปฏิบัติตามพระบัญญัติบางประการ
คริสเตียนอีกกลุ่มหนึ่งเชื่อว่าวันสะบาโตคือวันอาทิตย์ กลุ่มคริสเตียนที่ถือว่าวันสะบาโตเป็นวันอาทิตย์คือคริสต
จักรคาธอลิคและคริสตจักรส่วนใหญ่ของโปรเตสแตนท์ กลุ่มนี้เชื่อว่าเดิมทีวันสะบาโตเป็นวันเสาร์แต่ต่อมาได้ถูกเปลี่ยนมาเป็นวันอาทิตย์
โดยได้ให้เหตุผลในการเปลี่ยนแปลงไว้สองประการคือ หนึ่งเมื่อจักรพรรดิคอนสแตนตินได้เปลี่ยนจักวรรดิโรมมาเป็นคริสเตียนในศตวรรษ
ที่๔ก็ได้ร่วมกับคริสตจักรประกาศให้เปลี่ยนแปลงวันสะบาโตจากวันเสาร์มาเป็นวันอาทิตย์ คำถามที่ตามมาก็คือว่ามนุษย์เราเอาอำนาจอะไรมา
เปลี่ยนแปลงพระบัญญัติของพระเจ้า เหตุผลประการที่สองคือคริสตจักรในยุคอัครทูตก็ได้นมัสการในวันอาทิตย์(๑คร.๑๖.๒ กจ.๒๐.๗) โดยให้
เหตุผลว่าสาเหตุที่คริสตจักรนมัสการวันอาทิตย์ก็เพื่อเป็นการรำลึกถึงการฟื้นคืนพระชนม์ของพระเยซูในวันอาทิตย์ เป็นความจริงที่มีการ
นมัสการพระเจ้าในวันอาทิตย์ของคริสตจักรในสมัยแรก แต่นี้ก็ไม่ได้มีเหตุผลเพียงพอที่จะอ้างว่าวันสะบาโตได้เปลี่ยนจากวันเสาร์มาเป็นวันอาทิตย์
เพราะเราพบจากพระคัมภีร์ว่าทุกวันเสาร์อัครทูตก็ยังไปที่ธรรมศาลา อีกทั้งคริสตจักรยุคอัครทูตในเวลาเริ่มต้นมีการนมัสการทุกวัน(กจ.๒.๔๖)
 
คริสเตียนอีกกลุ่มหนึ่งเชื่อว่าวันสะบาโตคือวันอาทิตย์ กลุ่มคริสเตียนที่ถือว่าวันสะบาโตเป็นวันอาทิตย์คือ[[นิกายโรมันคาทอลิค]]และ[[นิกายโปรเตสแตนต์]]ส่วนใหญ่ กลุ่มนี้เชื่อว่าเดิมทีวันสะบาโตเป็นวันเสาร์แต่ต่อมาได้ถูกเปลี่ยนมาเป็นวันอาทิตย์ โดยได้ให้เหตุผลในการเปลี่ยนแปลงไว้สองประการคือ หนึ่งเมื่อจักรพรรดิคอนสแตนตินได้เปลี่ยนจักวรรดิโรมมาเป็นคริสเตียนในศตวรรษ
วันสะบาโตเป็นวันที่สถาปนาโดยพระเจ้าและพระองค์ตรัสว่าเป็นพันธสัญญาตลอดชั่วชาติพันธุ์ ดังนั้นวันสะบาโตจึงตรงกับวันเสาร์
ที่๔ก็ได้ร่วมกับคริสตจักรประกาศให้เปลี่ยนแปลงวันสะบาโตจากวันเสาร์มาเป็นวันอาทิตย์ คำถามที่ตามมาก็คือว่ามนุษย์เราเอาอำนาจอะไรมาเปลี่ยนแปลงพระบัญญัติของพระเจ้า เหตุผลประการที่สองคือคริสตจักรในยุคอัครทูตก็ได้นมัสการในวันอาทิตย์(๑คร.๑๖.๒ กจ.๒๐.๗) โดยให้เหตุผลว่าสาเหตุที่คริสตจักรนมัสการวันอาทิตย์ก็เพื่อเป็นการรำลึกถึงการฟื้นคืนพระชนม์ของพระเยซูในวันอาทิตย์ เป็นความจริงที่มีการนมัสการพระเจ้าในวันอาทิตย์ของคริสตจักรในสมัยแรก แต่นี้ก็ไม่ได้มีเหตุผลเพียงพอที่จะอ้างว่าวันสะบาโตได้เปลี่ยนจากวันเสาร์มาเป็นวันอาทิตย์ เพราะเราพบจากพระคัมภีร์ว่าทุกวันเสาร์อัครทูตก็ยังไปที่ธรรมศาลา อีกทั้งคริสตจักรยุคอัครทูตในเวลาเริ่มต้นมีการนมัสการทุกวัน(กจ.๒.๔๖)
ไม่เคยเปลี่ยนแปลง(เริ่มจากเย็นวันศุกร์จนถึงเย็นวันเสาร์ตามการนับวันของพระคัมภีร์) วันสะบาโตตั้งขึ้นโดยอำนาจของพระเจ้า ถ้าจะ
มีการเปลี่ยนแปลงก็ต้องเปลี่ยนโดยอำนาจของพระเจ้าไม่ใช่อำนาจของคริสตจักรหรือรัฐ และเราไม่เคยพบข้อความใดในพระคัมภีร์ที่แสดงให้
เห็นว่าพระเจ้าทรงเปลี่ยนวันสะบาโตจากวันเสาร์มาเป็นวันอาทิตย์
 
วันสะบาโตเป็นวันที่สถาปนาโดยพระเจ้าและพระองค์ตรัสว่าเป็นพันธสัญญาตลอดชั่วชาติพันธุ์ ดังนั้นวันสะบาโตจึงตรงกับวันเสาร์ไม่เคยเปลี่ยนแปลง (เริ่มจากเย็นวันศุกร์จนถึงเย็นวันเสาร์ตามการนับวันของพระคัมภีร์) วันสะบาโตตั้งขึ้นโดยอำนาจของพระเจ้า ถ้าจะมีการเปลี่ยนแปลงก็ต้องเปลี่ยนโดยอำนาจของพระเจ้าไม่ใช่อำนาจของคริสตจักรหรือรัฐ และเราไม่เคยพบข้อความใดในพระคัมภีร์ที่แสดงให้เห็นว่าพระเจ้าทรงเปลี่ยนวันสะบาโตจากวันเสาร์มาเป็นวันอาทิตย์
๒.คริสเตียนต้องถือรักษาวันสะบาโตหรือไม่
ตามที่ได้กล่าวมาข้างต้นคริสเตียนส่วนใหญ่เชื่อว่าตนยังต้องถือรักษาวันสะบาโตอยู่ เพียงแต่บางส่วนยึดถือว่าวันสะบาโตเป็นวัน
เสาร์และบางส่วนถือว่าวันสะบาโตได้เปลี่ยนจากวันเสาร์มาเป็นวันอาทิตย์ แต่จากนี้ไปจะเป็นเหตุผลและหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่าคริสเตียนไม่ได้
อยู่ภายใต้พันธสัญญาเรื่องวันสะบาโต คริสเตียนจึงไม่ได้มีหน้าที่ในการถือรักษาวันสะบาโต
 
== คริสเตียนต้องถือรักษาวันสะบาโตหรือไม่ ==
๑.คำสั่งเรื่องวันสะบาโตเป็นคำสั่งเฉพาะสำหรับคนอิสราเอลเท่านั้น หากเราพิจารณาดูทุกครั้งที่มีการกล่าวถึงคำสั่งของพระเจ้าเรื่อง
ตามที่ได้กล่าวมาข้างต้นคริสเตียนส่วนใหญ่เชื่อว่าตนยังต้องถือรักษาวันสะบาโตอยู่ เพียงแต่บางส่วนยึดถือว่าวันสะบาโตเป็นวันเสาร์และบางส่วนถือว่าวันสะบาโตได้เปลี่ยนจากวันเสาร์มาเป็นวันอาทิตย์ แต่จากนี้ไปจะเป็นเหตุผลและหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่าคริสเตียนไม่ได้อยู่ภายใต้พันธสัญญาเรื่องวันสะบาโต คริสเตียนจึงไม่ได้มีหน้าที่ในการถือรักษาวันสะบาโต
การถือรักษาวันสะบาโตจะเป็นการกล่าวกับชนชาติอิสราเอล และจะเป็นการกล่าวภายใต้พันธสัญญาระหว่างพระเจ้ากับชนชาติอิสราเอล
โดยตั้งอยู่บนเหตุการณ์ที่พระเจ้าทรงช่วยกู้ชนชาติอิสราเอลออกจากการเป็นทาสในอียิปต์(อพย.๒๐ข้อ๒และข้อ๘) วันสะบาโตเป็นเครื่องหมาย
แห่งพันธสัญญาระหว่างอิสราเอลกับพระเจ้า และคนอิสราเอลได้รับพระบัญชาถือรักษาวันสะบาโตไว้ตราบเท่าที่ยังมีคนอิสราเอลอยู่(อพย.
๓๑.๑๒-๑๓) ดังนั้นคริสเตียนจึงไม่ต้องถือรักษาวันสะบาโตเพราะเราไม่ใช่คนอิสราเอลที่ต้องอยู่ภายใต้พันธสัญญาระหว่างคนอิสราเอลกับ
พระเจ้า คริสเตียนไม่ได้อยู่ภายใต้พันธสัญญาที่ตั้งอยู่บนการช่วยกู้จากอียิปต์เหมือนคนอิสราเอล แต่อยู่ภายใต้พันธสัญญาใหม่ที่ตั้งอยู่บนการ
ช่วยกู้ให้พ้นจากบาปโดยพระคริสต์ และเรามีเครื่องหมายแห่งพันธสัญญาระหว่างเรากับพระเจ้าคือพิธีบัพติศมาและพิธีมหาสนิท(มธ.๒๖.๒๖-๒๘ ๑
คร.๑๑.๒๓-๒๖ กจ.๒.๓๗-๓๙) สรุปให้เข้าใจโดยง่ายก็คือคริสเตียนและคนยิวถือหนังสือสัญญาคนละฉบับ เนื้อหาของหนังสือสัญญาแต่ละ
ฉบับย่อมมีความแตกต่างกัน การนำเนื้อหาและเงื่อนไขทั้งสองฉบับมาปะปนกันย่อมก่อให้เกิดปัญหาทั้งในด้านการทำความเข้าใจและในการปฏิบัติ
ซึ่งสภาพการณ์เช่นนี้ก็เป็นดังที่พระเยซูตรัสเปรียบเทียบว่าเหมือนการนำเหล้าองุ่นหมักใหม่มาใส่ในถุงหนังใบเก่า ซึ่งผลที่ตามมาคือความเสียหาย
เพราะถุงหนังเก่าจะไม่สามารถทนแรงดันของเหล้าองุ่นหมักใหม่(มัทธิว ๙.๑๗)
 
คำสั่งเรื่องวันสะบาโตเป็นคำสั่งเฉพาะสำหรับคนอิสราเอลเท่านั้น หากเราพิจารณาดูทุกครั้งที่มีการกล่าวถึงคำสั่งของพระเจ้าเรื่องการถือรักษาวันสะบาโตจะเป็นการกล่าวกับชนชาติอิสราเอล และจะเป็นการกล่าวภายใต้พันธสัญญาระหว่างพระเจ้ากับชนชาติอิสราเอล โดยตั้งอยู่บนเหตุการณ์ที่พระเจ้าทรงช่วยกู้ชนชาติอิสราเอลออกจากการเป็นทาสในอียิปต์(อพย.๒๐ข้อ๒และข้อ๘) วันสะบาโตเป็นเครื่องหมาย
๒.สภาของอัครทูตและผู้ปกครองในกรุงเยรูซาเล็มตามที่บันทึกในพระธรรมกิจการบทที่ ๑๕ มีมติให้คริสเตียนที่เป็นชาวต่างชาติไม่
แห่งพันธสัญญาระหว่างอิสราเอลกับพระเจ้า และคนอิสราเอลได้รับพระบัญชาถือรักษาวันสะบาโตไว้ตราบเท่าที่ยังมีคนอิสราเอลอยู่(อพย.๓๑.๑๒-๑๓) ดังนั้นคริสเตียนจึงไม่ต้องถือรักษาวันสะบาโตเพราะเราไม่ใช่คนอิสราเอลที่ต้องอยู่ภายใต้พันธสัญญาระหว่างคนอิสราเอลกับพระเจ้า คริสเตียนไม่ได้อยู่ภายใต้พันธสัญญาที่ตั้งอยู่บนการช่วยกู้จากอียิปต์เหมือนคนอิสราเอล แต่อยู่ภายใต้พันธสัญญาใหม่ที่ตั้งอยู่บนการช่วยกู้ให้พ้นจากบาปโดยพระคริสต์ และเรามีเครื่องหมายแห่งพันธสัญญาระหว่างเรากับพระเจ้าคือ[[พิธีบัพติศมา]]และ[[พิธีมหาสนิทศักดิ์สิทธิ์]](มธ.๒๖.๒๖-๒๘ ๑ คร.๑๑.๒๓-๒๖ กจ.๒.๓๗-๓๙) สรุปให้เข้าใจโดยง่ายก็คือคริสเตียนและคนยิวถือหนังสือสัญญาคนละฉบับ เนื้อหาของหนังสือสัญญาแต่ละฉบับย่อมมีความแตกต่างกัน การนำเนื้อหาและเงื่อนไขทั้งสองฉบับมาปะปนกันย่อมก่อให้เกิดปัญหาทั้งในด้านการทำความเข้าใจและในการปฏิบัติ ซึ่งสภาพการณ์เช่นนี้ก็เป็นดังที่พระเยซูตรัสเปรียบเทียบว่าเหมือนการนำเหล้าองุ่นหมักใหม่มาใส่ในถุงหนังใบเก่า ซึ่งผลที่ตามมาคือความเสียหายเพราะถุงหนังเก่าจะไม่สามารถทนแรงดันของเหล้าองุ่นหมักใหม่(มัทธิว ๙.๑๗)
ต้องเข้าพิธีสุหนัตหรือถือตามกฎข้อปฏิบัติของคนอิสราเอล ปัญหาใหญ่ของคริสตจักรยุคแรกเกิดจากความเข้าใจเรื่องข้อปฏิบัติต่างๆในศาสนายู
ดาย พระเยซูคริสต์ทรงเกิดเป็นชาวยิว อัครทูตและสาวกกลุ่มแรกก็เป็นชาวยิว ความเข้าใจเรื่องพระเจ้าของคริสเตียนก็มีพื้นฐานมาจากพระคัมภีร์
เดิมของชาวยิว ดังนั้นจึงมีคริสเตียนกลุ่มใหญ่ที่เชื่อว่าเมื่อคนต่างชาติจะมาเป็นคริสเตียนนั้นจะต้องเข้าพิธีสุหนัตก่อน เพราะพิธีสุหนัตเป็น
เหมือนประตูเข้าสู่ศาสนายูดาย เหมือนพิธีบัพติศมาเป็นประตูเข้าสู่ศาสนาคริสต์ และเมื่อรับพิธีสุหนัตแล้วก็ต้องถือรักษาระเบียบพิธีต่างๆแบบ
คนยิว(กาลาเทีย ๕:๓) แต่ท่านเปาโลและพวกได้ต่อสู้กับความเชื่อดังกล่าวอย่างเต็มที่ ความขัดแย้งนี้จึงถูกนำเข้าสู่ที่ประชุมของสภาอัครทูตและ
ผู้ปกครองในพระธรรมกิจการบทที่ ๑๕ ซึ่งที่ประชุมมีมติให้คริสเตียนต่างชาติไม่ต้องเข้าพิธีสุหนัต และเมื่อไม่ต้องเข้าพิธีสุหนัตก็หมายความว่า
ไม่ต้องเข้าสู่พันธสัญญาระหว่างคนอิสราเอลกับพระเจ้า ดังนั้นกฎอื่นๆในศาสนายูดายจึงไม่เป็นกฎที่คริสเตียนถูกผูกมัดให้ถือปฏิบัติ เมื่อเราอ่าน
ถึงสิ่งที่คริสเตียนในพระธรรมกิจการกระทำ เราต้องเข้าใจว่ามีวิถีการปฏิบัติที่แตกต่างกันระหว่างคริสเตียนยิวกับคริสเตียนที่เป็นคนต่างชาติ
คริสเตียนต่างชาติที่ไม่ใช่ยิวจะถือรักษาเฉพาะพิธีบัพติศมาและมหาสนิท แต่คริสเตียนยิวในฐานะที่เป็นคริสเตียนเขาจะถือรักษาพิธีบัพติศมาและ
มหาสนิท และในฐานะที่เขาเป็นยิวเขาจะถือพิธีสุหนัต ปัศคาและถือรักษาวันสะบาโตด้วย ในพระธรรมกิจการบทที่๒๑ ข้อ๑๗-๒๖ ท่านเปาโล
ถูกกล่าวหาว่าสั่งสอนคนยิวในต่างแดนให้ละทิ้งวิถีปฏิบัติของยิว แต่เรื่องนี้ไม่เป็นความจริง ท่านจึงต้องทำการบนตัวตามหลักของพระบัญญัติที่
พระวิหารเพื่อแสดงว่าท่านเองก็ยังปฏิบัติตามวิถีของคนยิวอย่างเคร่งครัด เพราะท่านก็เป็นยิวด้วย
 
สภาของอัครทูตและผู้ปกครองในกรุงเยรูซาเล็มตามที่บันทึกในพระธรรมกิจการอัครทูตบทที่ ๑๕ มีมติให้คริสเตียนที่เป็นชาวต่างชาติไม่ต้องเข้าพิธีสุหนัตหรือถือตามกฎข้อปฏิบัติของคนอิสราเอล ปัญหาใหญ่ของคริสตจักรยุคแรกเกิดจากความเข้าใจเรื่องข้อปฏิบัติต่างๆในศาสนายูดาห์ พระเยซูคริสต์ทรงเกิดเป็นชาวยิว อัครทูตและสาวกกลุ่มแรกก็เป็นชาวยิว ความเข้าใจเรื่องพระเจ้าของคริสเตียนก็มีพื้นฐานมาจากพระคัมภีร์เดิมของชาวยิว ดังนั้นจึงมีคริสเตียนกลุ่มใหญ่ที่เชื่อว่าเมื่อคนต่างชาติจะมาเป็นคริสเตียนนั้นจะต้องเข้าพิธีสุหนัตก่อน เพราะพิธีสุหนัตเป็นเหมือนประตูเข้าสู่ศาสนายูดาห์ เหมือนพิธีบัพติศมาเป็นประตูเข้าสู่ศาสนาคริสต์ และเมื่อรับพิธีสุหนัตแล้วก็ต้องถือรักษาระเบียบพิธีต่างๆแบบคนยิว(กาลาเทีย ๕:๓) แต่ท่านเปาโลและพวกได้ต่อสู้กับความเชื่อดังกล่าวอย่างเต็มที่ ความขัดแย้งนี้จึงถูกนำเข้าสู่ที่ประชุมของสภาอัครทูตและผู้ปกครองในพระธรรมกิจการอัครทูตบทที่ ๑๕ ซึ่งที่ประชุมมีมติให้คริสเตียนต่างชาติไม่ต้องเข้าพิธีสุหนัต และเมื่อไม่ต้องเข้าพิธีสุหนัตก็หมายความว่าไม่ต้องเข้าสู่พันธสัญญาระหว่างคนอิสราเอลกับพระเจ้า ดังนั้นกฎอื่นๆในศาสนายูดายจึงไม่เป็นกฎที่คริสเตียนถูกผูกมัดให้ถือปฏิบัติ เมื่อเราอ่านถึงสิ่งที่คริสเตียนในพระธรรมกิจการกระทำ เราต้องเข้าใจว่ามีวิถีการปฏิบัติที่แตกต่างกันระหว่างคริสเตียนยิวกับคริสเตียนที่เป็นคนต่างชาติ คริสเตียนต่างชาติที่ไม่ใช่ยิวจะถือรักษาเฉพาะพิธีบัพติศมาและพิธีมหาสนิท แต่คริสเตียนยิวในฐานะที่เป็นคริสเตียนเขาจะถือรักษาพิธีบัพติศมาและพิธีมหาสนิท และในฐานะที่เขาเป็นยิวเขาจะถือพิธีสุหนัต [[ปัสคา]]และถือรักษาวันสะบาโตด้วย ในพระธรรมกิจการบทที่๒๑ ข้อ๑๗-๒๖ ท่านเปาโลถูกกล่าวหาว่าสั่งสอนคนยิวในต่างแดนให้ละทิ้งวิถีปฏิบัติของยิว แต่เรื่องนี้ไม่เป็นความจริง ท่านจึงต้องทำการบนตัวตามหลักของพระบัญญัติที่พระวิหารเพื่อแสดงว่าท่านเองก็ยังปฏิบัติตามวิถีของคนยิวอย่างเคร่งครัด เพราะท่านก็เป็นยิวด้วย
๓.มีหลักฐานจากข้อพระคัมภีร์ที่ต่อต้านคำสอนเรื่องให้คริสเตียนต่างชาติถือรักษาวันสะบาโต ในโคโลสี บทที่ ๒ ข้อ๑๖ กล่าว
ว่า”เหตุฉะนั้นอย่าให้ผู้ใดพิพากษาปรักปรำท่านในเรื่องการกินการดื่ม ในเรื่องเทศกาล วันต้นเดือน หรือวันสะบาโต”(พระธรรมโคโลสีเป็นจดหมายของ
เปาโลที่เขียนถึงคริสเตียนในเมืองโคโลสีซึ่งไม่ได้เป็นคนยิว) และเราก็ไม่เคยพบว่าพระคริสต์หรืออัครทูตได้มีคำสั่งให้คริสเตียนถือรักษาวันสะบา
โตสักครั้งเดียว ถ้าหากว่าคำสอนเรื่องการถือรักษาวันสะบาโตเป็นเรื่องสำคัญพระคริสต์และอัครทูตก็ย่อมต้องกล่าวถึงเรื่องนี้หลายครั้ง การที่พระ
คริสต์และอัครทูตไม่เคยสั่งการให้ถือรักษาวันสะบาโตก็ย่อมแสดงว่าเรื่องวันสะบาโตไม่ใช่หน้าที่ของคริสเตียนที่จะต้องถือปฏิบัติ
 
มีหลักฐานจากข้อพระคัมภีร์ที่ต่อต้านคำสอนเรื่องให้คริสเตียนต่างชาติถือรักษาวันสะบาโต ในโคโลสี บทที่ ๒ ข้อ๑๖ กล่าวว่า”เหตุฉะนั้นอย่าให้ผู้ใดพิพากษาปรักปรำท่านในเรื่องการกินการดื่ม ในเรื่องเทศกาล วันต้นเดือน หรือวันสะบาโต”(พระธรรมโคโลสีเป็นจดหมายของเปาโลที่เขียนถึงคริสเตียนในเมืองโคโลสีซึ่งไม่ได้เป็นคนยิว) และเราก็ไม่เคยพบว่าพระคริสต์หรืออัครทูตได้มีคำสั่งให้คริสเตียนถือรักษาวันสะบาโตสักครั้งเดียว ถ้าหากว่าคำสอนเรื่องการถือรักษาวันสะบาโตเป็นเรื่องสำคัญพระคริสต์และอัครทูตก็ย่อมต้องกล่าวถึงเรื่องนี้หลายครั้ง การที่พระคริสต์และอัครทูตไม่เคยสั่งการให้ถือรักษาวันสะบาโตก็ย่อมแสดงว่าเรื่องวันสะบาโตไม่ใช่หน้าที่ของคริสเตียนที่จะต้องถือปฏิบัติ
ในสมัยพระเยซูคริสต์ชาวยิวกับชาวสะมาเรียถกเถียงกันเรื่องสถานที่ที่ถูกต้องในการนมัสการพระเจ้า ชาวสะมาเรียเชื่อว่าภูเขาเกริชิมคือสถานที่ซึ่งพระเจ้าทรงกำหนดไว้เพื่อเป็นสถานนมัสการ ส่วนชาวยิวเชื่อว่าพระเจ้าทรงกำหนดกรุงเยรูซาเล็มให้เป็นที่ตั้งของพระวิหารเพื่อการ
 
นมัสการ แต่พระคริสต์ตรัสสอนในพระธรรมยอห์นบทที่ ๔ ว่าสาระสำคัญของการนมัสการไม่ไม่เรื่องสถานที่แต่เป็นท่าทีของเราในการนมัสการ
== ในสมัยพระเยซูสอนว่าการนมัสการที่แท้จริงเป็นการนมัสการด้วยจิตวิญญาณและความจริง ในปัจจุบันเราก็คริสต์ชาวยิวกับชาวสะมาเรียถกเถียงกันเรื่องว่าวันใดคือวันสถานที่ที่ถูกต้องในการนมัสการพระเจ้าทรงตั้ง ==
ชาวสะมาเรียเชื่อว่าภูเขาเกริชิมคือสถานที่ซึ่งพระเจ้าทรงกำหนดไว้เพื่อเป็นสถานนมัสการ ส่วนชาวยิวเชื่อว่าพระเจ้าทรงกำหนดกรุงเยรูซาเล็มให้เป็นที่ตั้งของพระวิหารเพื่อการนมัสการ แต่พระคริสต์ตรัสสอนในพระธรรมยอห์นบทที่ ๔ ว่าสาระสำคัญของการนมัสการไม่ไม่เรื่องสถานที่แต่เป็นท่าทีของเราในการนมัสการ พระเยซูสอนว่าการนมัสการที่แท้จริงเป็นการนมัสการด้วยจิตวิญญาณและความจริง ในปัจจุบันเราก็ถกเถียงกันเรื่องว่าวันใดคือวันที่พระเจ้าทรงตั้งไว้เพื่อการนมัสการพระองค์ บางคนก็ว่าวันเสาร์ บางคนก็ว่าวันอาทิตย์ แต่พระคริสต์ก็ตรัสเหมือนเดิมว่าสาระสำคัญของการนมัสการไม่ได้อยู่ที่วันเสาร์หรือวันอาทิตย์ สาระสำคัญคือการนมัสการด้วยจิตวิญญาณและความจริง
เสาร์หรือวันอาทิตย์ สาระสำคัญคือการนมัสการด้วยท่าทีที่ถูกต้องคือนมัสการด้วยจิตวิญญาณและความจริง
 
ผู้เขียน ชวน พันธสัญญากุล
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/สะบาโต"