ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เภสัชเวท"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Rotlink (คุย | ส่วนร่วม)
deadlink fix: fixed hostname of google cache
Twitchud (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 69:
==== คูมารินส์ ====
{{บทความหลัก|คูมารินส์}}
คูมารินส์ (coumarins) มีโครงสร้างโดยทั่วไปคือหลักเป็น 2-α-benzopyrone พบในธรรมชาติทั้งรูปแบบรูปไกลโคไซด์และอะไกลโคน จัดเป็นสารจำพวกแลกโตนไกลโคไซด์ด้วยไซด์ มีการจำแนกคูมารินส์ตามลักษณะโครงสร้างออกเป็น simple coumarins, furanocoumarins, pyrocoumarins, phenyl coumarins และ bicoumarins พบได้ทั้งในพืชและจุลินทรีย์ โดยสารสำคัญที่กระจายตัวมากที่สุดคือคูมารินในพืชประมาณ 150 ต้นกว่า 30 วงศ์ มีชีวสังเคราะห์ผ่านวิถีชิกิเมตโดยมีสารตั้งต้นเป็น[[คาร์โบไฮเดรต]] สามารถทดสอบด้วยแสง[[ฟลูออเรสเซนต์]]การเรืองแสงภายใต้รังสีแสง[[ยูวี]] อนุพันธ์สังเคราะห์ของคูมารินส์ได้มีการนำมาใช้ประโยชน์ทางเภสัชกรรมได้แก่ทางการแพทย์ เช่น ใช้เป็นส่วนผสมของยาต้านการแข็งตัวของเลือด, และยารักษาโรคด่างขาว, ช่วยในการขยายตัวของหลอดเลือด และใช้เป็นส่วนประกอบ แหล่งของตำรับยาต้านไวรัสเอชไอวีอีกด้วย พืชที่พบสารคูมารินส์ได้แก่ เช่น เมล็ดพรรณผักกาด,เมล็ดทอนกา เป็นต้นและ tonka bean <ref>อ.ภญ.ดร.วิชชุดา ธนกิจเจริญพัฒน์. ''Coumarins''. คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย;2551.</ref>
 
==== ไซยาโนจินิกไกลโคไซด์ ====