ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประเทศเติร์กเมนิสถาน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เพิ่มข้อความไม่เป็นวิกิขนาดใหญ่
บรรทัด 60:
 
== ภูมิศาสตร์ ==
เติร์กเมนิสถานอยู่ในเอเชียกลาง ทางด้านตะวันออกของทะเลสาบแคสเบียนและทางตะวันตกของแม่น้ำ Amu-darya ระหว่างอิหร่านและอุซเบกิสถาน
{{โครง-ส่วน}}
ภาคเหนือ ติดคาซัคสถาน
ภาคใต้ ติดอัฟกานิสถาน
ภาคตะวันออกและตะวันออกเฉียงเหนือ ติดอุซเบกิสถาน
ภาคตะวันตก ติดอิหร่าน
พื้นที่ 488, 100 ตารางกิโลเมตร (ใหญ่เป็นอันดับ 3 ของกลุ่มประเทศ CIS)
*ภูมิอากาศ ทะเลทรายแบบภาคพื้นทวีป
 
== ประวัติศาสตร์ ==
เส้น 68 ⟶ 74:
== การเมืองการปกครอง ==
=== บริหาร ===
เติร์กเมนิสถานเป็นหนึ่งในประเทศโซนเอเซียกลางที่อยู่ภายใต้สหภาพโซเวียต ในปีค.ศ.1991(2534)สหภาพโซเวียตแตกออกเติร์กเมนิสถานจึงประกาศเอกราช โดยใช้รูปแบบการปกครอง ประชาธิปไตยแบบสาธารณรัฐ มีประธานาธิบดีเป็นประมุข มีอำนาจเบ็ดเสร็จและมีรัฐธรรมนูญ ประกาศใช้เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม 2535 (ค.ศ. 1992) และมีการแก้ไขเพิ่มเติมในเดือน กันยายน 2551
{{บทความหลัก|รัฐบาลเติร์กเมนิสถาน}}
 
**การแบ่งส่วนการปกครอง
=== นิติบัญญัติ ===
*ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี เป็นประมุขและทำหน้าที่ในการบริหารประเทศ
{{บทความหลัก|รัฐสภาเติร์กเมนิสถาน}}
*ฝ่ายนิติบัญญัติ ระบบ 2 สภา สภาสูง - People’s Council (Halk Maslahaty) มีมากกว่า 100 ที่นั่ง สมาชิกมาจากการเลือกตั้งและแต่งตั้ง และสภาล่าง the Assembly (Majlis) ซึ่งมากจากการแก้ไขรัฐธรรมนูญเมื่อเดือนกันยายน 2551ได้กำหนดให้เพิ่มจำนวนที่นั่งจากเดิม 65 เป็น 125 ที่นั่ง ทั้งสองสภามีวาระสมัยละ 5 ปี
 
*ฝ่ายตุลาการ ศาลฎีกา (Supreme Court) เป็นศาลสูงสุด (ผู้พิพากษามาจากการแต่งตั้งโดยประธานาธิบดี)
=== ตุลาการ ===
*ประธานาธิบดี/นายกรัฐมนตรี Gurbanguly Berdimuhamedov
{{บทความหลัก|กฎหมายเติร์กเมนิสถาน}}
*สภานการณ์ทางการเมืองปัจจุบัน
 
เมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2550 เติร์กเมนิสถานได้จัดการเลือกตั้งประธานาธิบดีอันเนื่องมาจาก การถึงแก่อสัญกรรมอย่างกะทันหันของนาย Saparmurat Niyazov อดีตประธานาธิบดีเติร์กเมนิสถาน (ดำรงตำแหน่งตั้งแต่ปี 2534 – 2549) เมื่อวันที่ 21 ธันวาคม 2549 ผลการเลือกตั้งอย่างเป็นทางการจากคณะกรรมการกลางการเลือกตั้งปรากฏว่านาย Gurbanguly Berdymukhammedov ได้รับการเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดีตามความคาดหมายด้วยคะแนนเสียงร้อยละ 89.23 จากจำนวนผู้มาใช้สิทธิถึงร้อยละ 99 และได้เข้าพิธีรับตำแหน่งเมื่อวันที่ 14 ก.พ. 2550 อย่างไรก็ดี นักวิเคราะห์หลายคนให้ความเห็นว่า การเข้ารับตำแหน่งของนาย Berdymukhammedov น่าจะเป็นสัญญาณที่ดีต่อการพัฒนาประเทศของเติร์กเมนิสถาน ดังจะเห็นได้จากการดำเนินนโยบายตามที่ได้เคยประกาศไว้ อาทิ การยึดมั่นตามพันธกิจที่มีต่อประชาคมระหว่างประเทศโดยเฉพาะด้านพลังงาน การปฏิบัติตามรัฐธรรมนูญ และยึดมั่นผลประโยชน์ส่วนรวมตามแนวทางของอดีตประธานาธิบดี Saparmurat Niyazov รวมไปถึงการปรับโครงสร้างระบบการศึกษา การปรับปรุงสวัสดิการสังคม การเพิ่มอัตราการจ้างงาน และความเป็นไปได้ที่จะอนุญาตให้มีพรรคการเมืองฝ่ายค้าน เนื่องจากที่ผ่านมา การบริหารประเทศภายใต้การนำของนาย Niyazov เป็นแบบอัตตาธิปไตย ซึ่งพยายามรักษาอำนาจด้วยการดำเนินมาตรการอย่างเข้มงวด และไม่ค่อยให้ความสำคัญต่อการพัฒนาระบบสาธารณูปโภค และสวัสดิการทางสังคม ทำให้การพัฒนาประเทศของเติร์กเมนิสถานเป็นไปด้วยความล่าช้า
 
=== สถานการณ์การเมือง ===
{{โครง-ส่วน}}
 
=== สิทธิมนุษยชน ===
เส้น 119 ⟶ 123:
== เศรษฐกิจ ==
=== โครงสร้างทางเศรษฐกิจ ===
ผลิตภัณฑ์ประชาชาติ (GDP) 24.5 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (2555)
{{โครง-ส่วน}}
รายได้ประชาชาติต่อหัว 9,420 ดอลลาร์สหรัฐ
 
การขยายตัวทางเศรษฐกิจ ร้อยละ 7 (2555)
อัตราเงินเฟ้อ ร้อยละ 8.5 (2555)
อุตสาหกรรมสำคัญ ก๊าซธรรมชาติ น้ำมัน ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม สิ่งทอ อาหารแปรรูป
ทรัพยากรธรรมชาติ ปิโตรเลียม ก๊าซธรรมชาติ ถ่านหิน ซัลเฟอร์และเกลือ
สินค้านำเข้าที่สำคัญ เครื่องจักรและชิ้นส่วน ผลิตภัณฑ์ทางเคมีและผลิตภัณฑ์อาหาร
สินค้าออกที่สำคัญ ก๊าซธรรมชาติ น้ำมัน ฝ้าย ซัลเฟอร์ พรมทำด้วยมือ
ตลาดนำเข้าที่สำคัญ รัสเซีย ยูเครน ตุรกี สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ เยอรมนี จีน
ตลาดส่งออกที่สำคัญ ยูเครน อิหร่าน ตุรกี โปรแลนด์ ฮังการี
{{บทความหลัก|รัฐบาล*สภาวะทางเศรษฐกิจเติร์กเมนิสถาน}}
เติร์กเมนิสถานเป็นประเทศที่มีพื้นที่ส่วนใหญ่ปกคลุมด้วยทะเลทราย มีการเลี้ยงปศุสัตว์แบบเร่ร่อน ซึ่งม้าพันธุ์ Akhaltekin ของเติร์กเมนิสถานเป็นม้าพันธุ์ดีที่สุดพันธุ์หนึ่งของโลก มีการทำการเกษตรขนาดหนักในพื้นที่ชลประทาน ซึ่งมีการปลูกฝ้ายมากเป็นอันดับ 10 ของโลก สินค้าเกษตรอื่น ๆ ได้แก่ ไหม ขนสัตว์ หนังแกะอ่อน ชะเอม และฟัก นอกจากนี้ เติร์กเมนิสถานยังมีแหล่งน้ำมันและบ่อก๊าซธรรมชาติขนาดใหญ่มาก ทำให้เติร์กเมนิสถานเป็นผู้ส่งออกน้ำมันกลั่นรายสำคัญ โดยผลิตน้ำมันได้ประมาณปีละ 4 ล้านเมตริกตัน และมีปริมาณน้ำมันสำรอง 700 ล้านเมตริกตัน ใหญ่เป็นอันดับ 5 ของโลกด้วย อีกทั้ง เติร์กเมนิสถานยังเป็นประเทศเดียวของกลุ่ม CIS ที่มีโรงงานแปรรูปน้ำมันเพื่อใช้สำหรับเครื่องบิน และในปัจจุบัน บริษัทต่างชาติได้เข้ามาลงทุนในด้านการสำรวจน้ำมันแล้ว อาทิ UNICAL ของสหรัฐฯ DELTA ของ ซาอุดิอาระเบีย และ PETRONAS ของมาเลเซีย ทำให้เติร์กเมนิสถานต้องดำเนินการปรับปรุงกฎระเบียบต่างๆเพื่อคุ้มครองและอำนวยความสะดวกให้แก่การลงทุนของต่างชาติในประเทศ
=== เกษตรกรรม ===
{{โครง-ส่วน}}
เส้น 159 ⟶ 173:
== ประชากร ==
=== เชื้อชาติ ===
เมืองหลวง อาชกาบัท (Ashgabat) ประชากรประมาณ 416,000 ล้านคน
{{โครง-ส่วน}}
ประชากร 5,054,828 ล้านคน (2555) เป็นชาวเติร์กเมน 85% รัสเซีย7 % อุซเบก 5% อื่นๆ 3 %
ชาวเติร์กเมนเดิมทีเป็นการทำปศุสัตว์ในทุ่งหญ้า แต่ปัจจุบันได้เปลี่ยนมาเป็นการทำการเกษตรเป็นหลัก
 
=== ศาสนา ===
เส้น 166 ⟶ 182:
 
=== ภาษา ===
ภาษาเติร์กเมนเป็นภาษาราชการหลัก แต่ในเติร์กเมนิสถานสามารถใช้ภาษารัสเซียได้ นอกจากนั้นกลุ่มอุซเบกยังใช้ภาษาอุซเบกอีกด้วย
{{โครง-ส่วน}}
 
=== กีฬา ===
เส้น 187 ⟶ 203:
 
=== วันหยุด ===
วันชาติ 27 ตุลาคม
{{บทความหลัก|รายชื่อวันสำคัญของเติร์กเมนิสถาน}}