ผลต่างระหว่างรุ่นของ "งูแมวเซา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{Taxobox
| image = Daboia full.jpg
| image_caption =งูแมวเซาอินเดีย (''D. r. russelii'')
| image2 =
| image2_caption = งูแมวเซาสยาม (''D. r. siamensis'')
| regnum = [[Animal]]ia
| phylum = [[Chordata]]
เส้น 13 ⟶ 11:
| subdivision_ranks = [[ชนิดย่อย]]
| subfamilia = [[Viperinae]]
| subdivision = *''D. r. russelii'' <small> ([[จอร์จ ชอว์|Shaw]], [[ค.ศ. 1797|1797]])</small>
* ''D. r. siamensis'' <small>([[มัลคอล์ม อาเธอร์ สมิธ|M.A. Smith]], [[ค.ศ. 1917|1917]])</small>
| genus = '''''Daboia'''''
| species = '''''D. r. siamensis'''''
| genus_authority = [[John Edward Gray|Gray]], [[ค.ศ. 1842|1842]]
| speciesbinomial = '''''D.Daboia russellii'''siamensis''
| binomial_authority = Smith, 1917
| binomial = ''Daboia russellii''
| binomial_authority = ([[George Shaw|Shaw]] & [[Frederick Polydore Nodder|Nodder]], [[ค.ศ. 1797|1797]])
| synonyms = {{hidden begin|title=ชื่อพ้อง<ref name="McD99">McDiarmid RW, Campbell JA, Touré T. 1999. Snake Species of the World: A Taxonomic and Geographic Reference, vol. 1. Herpetologists' League. 511 pp. ISBN 1-893777-00-6 (series). ISBN 1-893777-01-4 (volume).</ref>}}
* ''Daboia'' <small>– Gray, [[ค.ศ. 1840|1840]] ([[ชื่อตั้งไร้คำบรรยาย]])</small>
* ''Daboia'' <small>– Gray, [[ค.ศ. 1842|1842]]</small>
* ''Chersophis'' <small>– Fitzinger, [[ค.ศ. 1843|1843]]</small>
* ''Daboya'' <small>– Hattori, [[ค.ศ. 1913|1913]]</small>
----
* ''Coluber russelii'' <small>– Shaw & Nodder, [[ค.ศ. 1797|1797]]</small>
* ''Coluber Russelii'' <small>– Shaw, [[ค.ศ. 1802|1802]]</small>
* ''Coluber Daboie'' <small>– Latreille ''In'' Sonnini & Latreille, [[ค.ศ. 1801|1801]]</small>
* ''Coluber trinoculus'' <small>– Schneider ''In'' Bechstein, 1802</small>
* ''Vipera daboya'' <small>– Daudin, [[ค.ศ. 1803|1803]]</small>
* ''Vipera elegans'' <small>– Daudin, 1803</small>
* ''Coluber triseriatus'' <small>– Hermann, [[ค.ศ. 1804|1804]]</small>
* [''Vipera'' (''Echidna'')] ''elegans'' <small>– Merrem, [[ค.ศ. 1820|1820]]</small>
* [''Vipera'' (''Echidna'')] ''Daboya'' <small>– Merrem, 1820</small>
* ''Vipera Daboya'' <small>– Gray, [[ค.ศ. 1831|1831]]</small>
* ''Vipera Russelii'' <small>– Gray, 1831</small>
* ''Vipera elegans'' <small>– Schlegel, 1837</small>
* ''Daboia elegans'' <small>– Gray, [[ค.ศ. 1842|1842]]</small>
* ''Vipera Daboya'' <small>– Gray, 1842</small>
* ''Daboia Russelii'' <small>– Gray, 1842</small>
* ''Daboia pulchella'' <small>– Gray, 1842</small>
* ''Vipera'' (''Chersophis'') ''elegans'' <small>– Fitzinger, [[ค.ศ. 1843|1843]]</small>
* ''Daboia Russellii'' <small>– Gray, [[ค.ศ. 1849|1849]]</small>
* ''Vipera russellii'' <small>– Jerdon, [[ค.ศ. 1854|1854]]</small>
* ''V''[''ipera'']. (''Echidna'') ''elegans'' <small>– Jan, [[ค.ศ. 1863|1863]]</small>
* ''Daboia russellii'' <small>– Günther, [[ค.ศ. 1864|1864]]</small>
* ''Echidna russellii'' <small>– Steindachner, [[ค.ศ. 1869|1869]]</small>
* ''Vipera Daboia Russellii'' <small>– Higgins, [[ค.ศ. 1873|1873]]</small>
* ''Coluber russellii'' <small>– Fayrer, [[ค.ศ. 1874|1874]]</small>
* ''Vipera'' (''Daboia'') ''Russellii'' <small>– Müller, [[ค.ศ. 1890|1890]]</small>
* ''Vipera russellii'' <small>– Boulenger, [[ค.ศ. 1896|1896]]</small>
* ''Vipera russellii'' <small>– Wall, [[ค.ศ. 1907|1907]]</small>
* ''V''[''ipera'']. ''l''[''ebetina'']. ''russellii'' <small>– Schwarz, [[ค.ศ. 1936|1936]]</small>
* ''Vipera russelli pulchella'' <small>– Deraniyagala, [[ค.ศ. 1945|1945]]</small>
* ''Vipera russelli nordicus'' <small>– Deraniyagala, 1945</small>
* ''Daboia russelli'' <small>– Deraniyagala, 1945</small>
* ''Vipera russelli'' <small>– Loveridge, [[ค.ศ. 1946|1946]]</small>
* ''Vipera russelii'' <small>– Klemmer, [[ค.ศ. 1963|1963]]</small>
* ''Vipera russelii russelii'' <small>– Klemmer, 1963</small>
* ''Daboia'' (''Daboia'') ''russelli russelli'' <small>- Obst, [[ค.ศ. 1983|1983]]</small>
* ''Daboia'' (''Daboia'') ''russelli pulchella'' <small>- Obst, 1983</small>
* ''Daboia russelli'' <small>– Golay et al., [[ค.ศ. 1993|1993]]</small>
* ''Vipera ruselli'' <small>– Golay et al., 1993</small>
* ''Vipera russelii nordicus'' <small>– Golay et al., 1993</small>
* ''Daboia russelii formosensis'' <small>– Maki, [[ค.ศ. 1931|1931]]</small>
* ''Daboia russelii limitis'', <small>– Mertens, [[ค.ศ. 1927|1927]] </small>
* ''Daboia russelii pulchella'', <small>– Gray, [[ค.ศ. 1842|1842]] </small>
* ''Daboia russelii nordicus'' <small>– Deraniyagala, [[ค.ศ. 1945|1945]] </small>
* ''Daboia russelli russelli'' <small>– Golay et al., 1993</small> <ref name="McD99"/>
{{hidden end}}
}}
 
'''งูแมวเซา''' ({{lang-en|Russell'sSiamese viper, Daboia}}) เป็น[[งูพิษ]][[สปีชีส์|ชนิด]]หนึ่ง มี[[ชื่อวิทยาศาสตร์]]ว่า ''Daboia russelliisiamensis'' ใน[[วงศ์ (ชีววิทยา)|วงศ์]] [[Viperidae]] และเป็น[[สิ่งมีชีวิต]]เพียงชนิดเดียวที่อยู่ใน[[สกุล (ชีววิทยา)|สกุล]] ''Daboia''<ref>[http://www.itis.gov/servlet/SingleRpt/SingleRpt ITIS]</ref>
 
== ลักษณะ ==
เป็นงูที่มีรูปร่างอ้วนป้อม ลำตัวสั้น หางสั้น เวลาตกใจหรือถูกรบกวนมักขดตัวเตรียมสู้และระวังตัว พร้อมทั้งทำเสียงขู่คล้ายแมวหรือเสียงของยางรถยนต์รั่ว โดยการสูบลมเข้าไปในตัวจนตัวพอง แล้วพ่นลมออกมาทางรูจมูกแรง ๆ แทนที่จะเลื้อยหนี เป็นงูที่ฉกกัดได้รวดเร็วแทบไม่ทันตั้งตัวทั้ง ๆ ที่ขดตัวอยู่ในลักษณะปกติ ลำตัวมีสีน้ำตาลอ่อนอมเทา มีเกล็ดสีชมพูแซมบริเวณสีข้าง มีลายลักษณะทรงกลมสีน้ำตาลเข้มตลอดทั้งตัว เกล็ดมีขนาดเล็กและมีสัน หัวเป็นรูปทรงสามเหลี่ยมและมีลายดำคล้ายลูกธนู มีเกล็ดเล็กละเอียดบนหัว เขี้ยวพิษมีความยาว
 
สามารถโตเต็มที่ได้ 120-166 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในวงกว้าง ตั้งแต่[[อนุทวีปอินเดีย]], [[เอเชียตะวันออก]] ในภาคใต้ของ[[จีน]]จรด[[เกาะไต้หวัน]] และ[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]] ถูกตั้งชื่อสามัญในภาษาอังกฤษและชื่อวิทยาศาสตร์เพื่อเป็นเกียรติแก่ [[แพทริก รัสเซลล์]] นักฟิสิกส์และนัก[[ธรรมชาติวิทยา]][[ชาวสกอตแลนด์]]<ref>[http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/7886689 The life and viper of Dr Patrick Russell MD FRS (1727-1805): physician and naturalist]</ref>
 
== พฤติกรรมและความร้ายแรงของพิษ ==
เส้น 84 ⟶ 28:
 
เป็นงูที่มีพิษต่อผลการแข็งตัวของเลือด [[w:Factor X|Factor X]] และ [[w:Factor V|Factor V]] โดยตรง โดยจะไปกระตุ้น [[w:prothrombin|prothrombin]] เป็น [[w:thrombin|thrombin]] ซึ่งทำให้เกิดการสลาย[[w:fibrinogen|ไฟบริโนเจน]]เป็น[[w:fibrin|ไฟบริน]]ในกระแสเลือด จึงทำให้เกิดเลือดออกง่าย เนื่องจาก[[w:Coagulation factor|องค์ประกอบในการแข็งตัวของเลือด]] ถูกใช้หมดไป นอกจากนี้แล้วพิษของงูแมวเซายังมีผลต่อ[[ไต]] ทำให้เกิดอาการ[[ไตวาย]]ได้ และยังมีฤทธิ์ในการทำลายเซลล์[[เม็ดเลือดแดง]]โดยตรง<ref>[http://docs.google.com/viewer?a=v&q=cache:DRpi_BGq9MoJ:www.snakru.research.chula.ac.th/acrobat/snake.pdf+%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A9%E0%B8%87%E0%B8%B9%E0%B9%81%E0%B8%A1%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%8B%E0%B8%B2&hl=th&gl=th&pid=bl&srcid=ADGEESjwVi5JkwPHnY-83ryKm-xJQUcD5SKFg3OHNKtG90ZipQhICQMzICHHLghZIOzb-8VzSTABIelpz9APL-5N1jAJQVSNflJclM51oCuZZO8q3AePmMx1BaqKY1TX1i4oMoZjfdxO&sig=AHIEtbS1U-CKYdLoEg_TSGpfH0XFL3fuww แนวทางการดูแลผู้ช่วยถูกงูพิษกัด]</ref> โดยอาการของผู้ที่ถูกกัดจะแสดงออกดังนี้ คือ มีอาการปวดและมีอาการบวมมาก อาการบวมเกิดเกิดขึ้นได้ภายใน 2-3 นาทีภายหลังถูกกัด มักจะมีรอยเขี้ยว 2 จุดซึ่งมีเลือดไหลออกตลอดเวลา และบริเวณรอบแผลจะมีสีคล้ำบริเวณโดยรอบเขี้ยวจะบวมอย่างชัดเจนภายใน 15-20 นาที และเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ จนกระทั่งบริเวณที่ถูกกัดบวมหมดภายในเวลา 12-24 ชั่วโมง และอาจเริ่มพองและมีเลือดออก ผู้ที่ได้รับพิษมากจะมีอาการของเลือดออกง่ายภายในเวลา 2-3 ชั่วโมง เช่น เลือดออกเป็นจ้ำ ๆ บริเวณผิวหนัง เลือดออกตามไรฟัน ไอมีเสมหะปนเลือด ถ่ายอุจจาระเป็นสีดำ ถ่ายปัสสาวะเป็นเลือด เลือดออกจะเป็นมากขึ้นเรื่อย ๆ จนกระทั่ง[[ความดันโลหิตต่ำ]] ไตวายและเสียชีวิตลงในที่สุด <ref>[http://guru.sanook.com/answer/question/%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%96%E0%B8%B9%E0%B8%81%E0%B8%87%E0%B8%B9%E0%B9%81%E0%B8%A1%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%8B%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B9%87%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B9%84%E0%B8%A3%3F/ อาการเมื่อถูกงูแมวเซากัดเป็นอย่างไร?]</ref>
 
== ชนิดย่อย ==
งูแมวเซาถูกแบ่งได้เป็น 2 [[ชนิดย่อย]] ได้แก่
 
{|cellspacing=0 cellpadding=2 border=1 style="border-collapse: collapse;"
|-
! style="background:#f0f0f0;"|ชื่อสามัญ ([[ภาษาไทย]])
! style="background:#f0f0f0;"|ชื่อวิทยาศาสตร์
! style="background:#f0f0f0;"|ผู้[[อนุกรมวิธาน]]
! style="background:#f0f0f0;"|ชื่อสามัญ (ภาษาอังกฤษ)
! style="background:#f0f0f0;"|สถานที่พบ
! style="background:#f0f0f0;"|ลักษณะ
|-
| งูแมวเซาอินเดีย
|''D. r. russelii''
|([[George Shaw|Shaw]], [[ค.ศ. 1797|1797]])
|Indian Russell's viper<ref name="CIS">Checklist of Indian Snakes with English Common Names [http://www.bio.utexas.edu/grad/sp/pubs/Indian Snakes-Checklist.pdf]{{ลิงก์เสีย|date=กุมภาพันธ์ 2553}} at [http://www.biosci.utexas.edu/ University of Texas]. Retrieved 22 October 2006.</ref>
|style="width:55%"|อนุทวีปอินเดีย, [[ปากีสถาน]], [[บังกลาเทศ]] ตลอดจน[[ศรีลังกา]]
|ลักษณะแบบเดียวกับที่ปรากฏในเนื้อหา
|-
|งูแมวเซาสยาม
|''D. r. siamensis''
|([[Malcolm Arthur Smith|M.A. Smith]], [[ค.ศ. 1917|1917]])
|Eastern Russell's viper<ref name="MAV-E">[http://www.toxinfo.org/antivenoms/indication/DABOIA_RUSSELII_SIAMENSIS.html ''Daboia russelii siamensis''] at [http://www.toxinfo.org/antivenoms/ Munich AntiVenom INdex (MAVIN)]. Retrieved 23 October 2006.</ref>
|ตั้งแต่[[พม่า]], [[ไทย]], [[ลาว]], [[กัมพูชา]], [[เวียดนาม]], [[อินโดนีเซีย]], ภาคใต้ของจีนและเกาะไต้หวัน
|มีสีเทาหรือสีเขียวมะกอกมากกว่าและมีจุดเล็ก ๆ ระหว่างแถวของจุดใหญ่<ref>^ Mallow D, Ludwig D, Nilson G. 2003. True Vipers: Natural History and Toxinology of Old World Vipers. Krieger Publishing Company, Malabar, Florida. ISBN 0-89464-877-2</ref>
|}
 
== อ้างอิง ==