ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การแปลสิ่งเร้าผิด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ให้ดีขึ้น
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Regional Science Centre, Bhopal - Head on a Platter.jpg|right|300pxthumb|งานศิลป์ "Head on a Platter (ศีรษะในจาน)" แสดงที่ศูนย์วิทยาศาสตร์ประจำภาค ในเมืองโภปาล [[รัฐมัธยประเทศ]] [[ประเทศอินเดีย]]]]
<!-- บทอื่น ๆ ที่เปลี่ยนทางมายังบทความนี้:
การแปลสิ่งเร้าผิด, การลวงประสาท, การลวงประสาทสัมผัส, วัตถุลวงประสาท, มายา (การรับรู้ผิด)
#auditory = เสียงลวงหู, การแปลสิ่งเร้าผิดทางหู, Auditory illusions, การลวงหู
#tactile = สัมผัสลวงกาย, สัมผัสลวงประสาท, การแปลสิ่งเร้าผิดทางสัมผัส, tactile illusion, การลวงสัมผัส
-->
'''การแปล[[สิ่งเร้า]]ผิด'''<ref name=RoyalDict>"ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑", ให้ความหมายของ illusion ว่า "การลวงตา, การแปลสิ่งเร้าผิด, มายา, ภาวะลวงตา"</ref> หรือ '''มายา'''<ref name=RoyalDict/><ref name=Lexitron>{{cite web |title=Lexitron พจนานุกรมไทย<=>อังกฤษ รุ่น 2.6 |url=http://lexitron.nectec.or.th |work= |publisher=หน่วยปฏิบัติการวิจัยวิทยาการมนุษยภาษา, ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ, กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี |year=2546|quote=ให้ความหมายของ "'มายา"' (สิ่งลวงตาลวงใจ) ว่า "'illusion"' }}</ref> ({{lang-en|illusion}}) หมายถึงความผิดพลาดหรือความบิดเบือนของการรับรู้ทาง[[ประสาทสัมผัส]]
ที่ชี้ให้เห็นถึงวิธีที่[[สมอง]]จัดระเบียบและแปลผลข้อมูลทางประสาทสัมผัส
แม้ว่า การแปลสิ่งเร้าผิดจะบิดเบือน[[ความเป็นจริง]] แต่ก็เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดกับคนโดยมาก<ref>Solso, R. L. (2001) . [[Cognitive psychology]] (6th ed.) . Boston: Allyn and Bacon. ISBN 0-205-30937-2</ref>
บรรทัด 12:
แต่[[ภาพลวงตา]]เป็นการแปลสิ่งเร้าผิดที่รู้จักกันดีที่สุดและมีความเข้าใจกันมากที่สุด
ที่มีความสนใจในภาพลวงตามากก็เพราะว่า การมองเห็นเป็นประสาทสัมผัสที่มีอิทธิพลมากที่สุด
อิทธิพลของการเห็นซึ่งเห็นได้ในตัวอย่างเช่น คนที่กำลังดูการพูดดัดเสียง (ventriloquism<ref>'''การพูดดัดเสียง''' (ventriloquism) เป็นศิลปะในการพูดที่เสียงดูเหมือนว่าจะไม่ใช่มาจากคนพูด แต่มาจากแหล่งอื่นเช่นจากหุ่นเชิดที่อยู่ที่มือ</ref>) ได้ยินเสียงว่ามาจากหุ่น ที่อยู่ที่มือของคนพูด
เนื่องจากว่า เห็นหุ่นนั้นขยับปากตามเสียงคำพูด (แต่ไม่เห็นคนพูดขยับปาก)<ref>McGurk,Hj. & MacDonald, J. (1976) . "Hearing lips and seeing voices", Nature 264, 746-748.</ref>
 
บรรทัด 18:
ข้อสันนิษฐานเหล่านั้นเกิดขึ้นอาศัยรูปแบบของสิ่งที่รับรู้,
ความสามารถในการรับรู้ความลึกและการรับรู้ความเคลื่อนไหว,
และความรู้สึกที่เป็น[[อัตวิสัย]]ว่า วัตถุหรือลักษณะต่าง ๆ ของวัตถุนั้นไม่มีความเปลี่ยนแปลง แม้ความรู้สึกทางประสาทสัมผัสเกี่ยวกับวัตถุนั้นจะได้เปลี่ยนไปแล้ว
ส่วนการแปลสิ่งเร้าผิดอื่น ๆ เกิดขึ้นอาศัยความเป็นไปในระบบการรับรู้ภายในร่างกาย หรือองค์ประกอบอื่น ๆ ภายนอกร่างกายในสิ่งแวดล้อม
 
บรรทัด 26:
ยกตัวอย่างเช่น การได้ยินเสียงโดยไม่มีเสียงจริง ๆ ในสิ่งแวดล้อมเป็นอาการประสาทหลอน
แต่ว่า การได้ยินเสียงคนในเสียงน้ำที่กำลังไหลอยู่ (หรือในเสียงอื่น ๆ) เป็นการแปลสิ่งเร้าผิด
[[ไฟล์:PANTOMIME-PABLO.jpg|thumb|right|ละครไมม์ ผู้แสดงทำท่าเหมือนกับพิงอะไรอยู่ที่ไม่มีจริง ๆ]]
<gallery>
ไฟล์:Jean + Brigitte Soubeyran Im Zirkus.JPG|ละครไมม์
ไฟล์:Chaplin A Dogs Life.jpg|ละครไมม์โดย[[ชาร์ลี แชปลิน]] (พ.ศ. 2461)
ไฟล์:PANTOMIME-PABLO.jpg|ละครไมม์
</gallery>
ละครไมม์เป็นบทการละเล่นลวงตาที่สร้างขึ้นโดยอาศัยการเคลื่อนไหวกาย
คือผู้เล่นละครสร้างภาพลวงตาโดยเคลื่อนกายเหมือนกับทำปฏิกิริยากับวัตถุที่ไม่มี
ภาพลวงตาเช่นนี้เกิดขึ้นได้อาศัย[[ข้อสันนิษฐาน]]ที่ผู้ชมมีเกี่ยวกับความเป็นไปในโลกจริง ๆ
บทเล่นที่รู้จักกันดีก็คือ "กำแพง" (คือทำปฏิกิริยากับกำแพงที่ไม่มี) "ปีนขึ้นบันได" "พิง" (ดูรูป) "ปีนลงบันได" และ "ดึงและผลัก"
 
{{anchor|optical}}<!-- มีลิงก์มาจากที่อื่น กรุณาอย่าเปลี่ยน -->
==ภาพลวงตา==
{{main|ภาพลวงตา}}
<gallery>
ไฟล์:Grey square optical illusion.PNG|จตุรัส A มีสีเดียวกับจตุรัส B แต่ดูเหมือนสีจะต่างกันโดยสิ้นเชิง (ภาพลวงตาสีเดียวกัน)
ไฟล์:Optical illusion greysquares.gif|เฉลยภาพลวงตาแรก
ไฟล์:Grid illusion.svg|องค์ประกอบต่าง ๆ คือ รูปร่าง ตำแหน่ง สี และความเปรียบต่าง ล้วนแต่มีส่วนก่อให้เกิดภาพลวงตาเป็นจุดดำที่เส้นตัด ([[ภาพลวงตาตาราง]]) ]]
</gallery>
{{main|ภาพลวงตา}}
'''[[ภาพลวงตา]]''' หรือ '''การแปลสิ่งเร้าผิดทางตา''' ({{lang-en|optical illusion}}) ก็คือ การเห็นที่ไม่ตรงกับความเป็นจริง หรือที่ทำให้เกิดความคิดผิด ๆ
ดังนั้น ข้อมูลที่ตาได้รับเกิดการแปลผลในสมองที่ทำให้เกิดการรับรู้ที่ไม่ตรงกับลักษณะจริง ๆ ของวัตถุที่เป็น[[สิ่งเร้า]]
 
มีความเชื่อโดยทั่ว ๆ ไปว่า มีภาพลวงตาที่มีจริง ๆ เกิดขึ้นเองโดยธรรมชาติ
และมีภาพลวงตาที่สร้างขึ้นได้โดยใช้กลอุบาย
ที่สามารถใช้ศึกษาให้เห็นเข้าใจในระดับพื้นฐานว่า ระบบการรับรู้ในมนุษย์นั้นทำงานอย่างไร
คือ [[สมอง]]สร้างโลกจำลองขึ้นในหัวของเราโดยมีพื้นฐานจากข้อมูลที่มันเอามาเป็นตัวอย่างจากสิ่งแวดล้อม
แต่ว่า บางครั้ง มันพยายามจัดระเบียบข้อมูลเหล่านั้นโดยวิธีที่คิดว่าดีที่สุด (ที่อาจไม่ตรงกับความเป็นจริง) และบางครั้ง มันก็เติมข้อมูลที่ไม่มีให้เต็มเอง<ref>Yoon Mo Jung and Jackie (Jianhong) Shen (2008), J. Visual Comm. Image Representation, '''19''' (1) :42-55, [http://portal.acm.org/citation.cfm?id=1326364.1326487&coll=&dl=&CFID=11849883&CFTOKEN=72040242 ''First-order modeling and stability analysis of illusory contours''].</ref>
เส้น 59 ⟶ 55:
ไฟล์:Duck-Rabbit illusion.jpg|กระต่าย หรือว่า เป็ด
ไฟล์:Kanizsa triangle.svg|ไม่มีสามเหลี่ยม หรือว่า มี (Kanizsa triangle|สามเหลี่ยมคะนิซซา)
ไฟล์:Ponzo illusion.gif|เส้นสีเหลืองยาวเท่ากัน แต่เส้นบนดูเหมือนยาวกว่า ([[ภาพลวงตาปอนโซ]])
ไฟล์:Gradient-optical-illusion.svg|สีพื้นที่อยู่ข้างหลังมีความเข้มไปตามลำดับจากสีเทาเข้มไปยังเทาอ่อน แถบสีเหลี่ยมผืนผ้าตรงกลางก็ดูเป็นเช่นนั้นเหมือนกัน แต่ความจริงมีสีเดียวกันทั้งแถบ
ไฟล์:Optical grey squares orange brown.svg|ในภาพลวงตานี้ วงสีทั้งสองดูเหมือนจะแตกต่างกัน วงหนึ่งเป็นสีส้ม อีกวงเป็นสีน้ำตาล แต่ความจริงแล้วมีสีเดียวกัน
เส้น 65 ⟶ 61:
ไฟล์:OpticalIllusionStJohnLateran.jpg|ลายกระเบื้องในมหาวิหารนักบุญยอห์น ลาเตรัน ในกรุงโรม ลายก่อให้เกิดภาพลวงตาเป็นกล่องมีสามมิติ
ไฟล์:Spinning Dancer.gif|นักเต้นรำดูเหมือนจะหมุนไปทั้งทางขวาและทั้งทางซ้าย
ไฟล์:Mond-vergleich.svg|วงกลมมีสีส้มทั้งสองมีขนาดเท่ากัน แต่ดูเหมือนมีขนาดต่างกัน ([[ภาพลวงตาเอ็บบิงก์เฮาส์]])
ไฟล์:Café wall.svg|เส้นตรงแนวนอนทุกเส้นเป็นไปขนานกัน แต่ไม่ดูเหมือนเส้นตรง ([[ภาพลวงตากำแพงผนังร้านกาแฟ]])
ไฟล์:Lilac-Chaser.gif|ลองเพ่งดูที่เส้นกากบาทตรงกลางประมาณ 20 วินาที แล้วดูว่ามีอะไรเกิดขึ้น (ถ้าไม่เห็นลองคลิ๊กดูภาพใหญ่) (ภาพลวงตา Lilac Chaser)
ไฟล์:Motion illusion in star arrangement.png|ภาพลวงตาแบบเคลื่อนที่
เส้น 74 ⟶ 70:
{{anchor|auditory}}<!-- มีลิงก์มาจากที่อื่น กรุณาอย่าเปลี่ยน -->
==เสียงลวงหู==
[[ไฟล์:DescenteInfinie.ogg|right|thumb|เสียงลวงประสาทหูแบบ Shepard tone ซึ่งเป็นวิธีการทำเสียงให้เหมือนกับกำลังสูงขึ้นหรือทุ้มลงอย่างต่อเนื่อง ๆ ทั้ง ๆ ที่ความจริงไม่ได้ไปทางไหนเลย]]
<!-- ยังไม่มี เผื่ออนาคต {{main|Auditory illusion}} -->
'''เสียงลวงหู''' หรือ '''การแปลสิ่งเร้าผิดทางหู''' ({{lang-en|auditory illusion}}) ก็คือ การได้ยินเสียงที่ไม่ตรงกับความเป็นจริง หรือที่ทำให้เกิดความคิดผิด ๆ
ซึ่งก็คือ การได้ยินเสียงที่ไม่มีอยู่ หรือว่าเป็นเสียงที่เป็นไปไม่ได้
โดยสรุปก็คือ การแปลสิ่งเร้าผิดทางหูชี้ข้อเท็จจริงว่า หูและสมองของมนุษย์เป็นเพียงอวัยวะทางชีวภาพ เป็นเพียงอุปกรณ์ชั่วคราวที่ไว้ใช้เฉพาะหน้า
ไม่ใช่ระบบรับรู้เสียงที่สมบูรณ์ (ไม่ว่าจะมีผลดีหรือร้าย) ตัวอย่างของการแปลสิ่งเร้าผิดทางหูอย่างหนึ่งก็คือ Shepard tone ซึ่งเป็นวิธีการทำเสียงให้เหมือนกับกำลังสูงขึ้นหรือทุ้มลงอย่างต่อเนื่อง ๆ ทั้ง ๆ ที่ความจริงไม่ได้ไปทางไหนเลย
{{anchor|tactile}}<!-- มีลิงก์มาจากที่อื่น กรุณาอย่าเปลี่ยน -->
เส้น 96 ⟶ 92:
==ประสาทสัมผัสอื่น ๆ==
การแปลสิ่งเร้าผิดสามารถเกิดขึ้นทาง[[ประสาทสัมผัส]]อื่น ๆ รวมทั้งที่ใช้ในการรับรู้เกี่ยวกับอาหาร
ทั้งแสียง<ref name=Zampini>Zampini M & Spence C (2004) [http://onlinelibrary.wiley.com/doi/10.1111/j.1745-459x.2004.080403.x/abstract "The role of auditory cues in modulating the perceived crispness and staleness of potato chips"] Journal of Sensory Studies 19, 347-363.</ref>
และสัมผัส<ref name=Barnett>Barnett-Cowan M (2010) [http://www.perceptionweb.com/abstract.cgi?id=p6784 "An illusion you can sink your teeth into: Haptic cues modulate the perceived freshness and crispness of pretzels"] Perception 39, 1684-1686.</ref>
สามารถลวง (บิดเบือน) ความรู้สึกเกี่ยวกับความเก่า (ความไม่สด) และความกรอบของอาหาร คือพบว่า
* ถ้าให้ผู้รับการทดสอบเคี้ยวของที่ควรจะเป็นของกรอบ แต่เสียงที่ได้ยินเป็นเสียงเหมือนกับเคี้ยวของนิ่ม ๆ ก็จะทำให้รู้สึกว่าของที่เคี้ยวไม่กรอบ (คือไม่สด) ในนัยตรงกันข้ามก็เช่นกัน<ref name=Zampini />
* ถ้าให้ผู้รับการทดลองถือขนมปังกรอบที่นิ่ม แต่ให้ทานขนมปังกรอบที่สด จะทำให้มีความรู้สึกว่า ขนมปังที่ทานเป็นของเก่า แต่ถ้าให้ถือขนมปังกรอบที่กรอบ แต่ให้ทานขนมปังกรอบที่นิ่ม (คือเก่า) จะทำให้มีความรู้สึกว่า ขนมปังที่ทานเป็นของสด<ref name=Barnett />
 
นอกจากนั้นแล้ว ยังพบว่า ถ้า[[เซลล์ประสาท]]รับรสบนลิ้นเกิดความเสียหาย
เส้น 146 ⟶ 144:
*[http://visionlab.harvard.edu/silencing/ Silencing awareness of visual change by motion ]
 
[[หมวดหมู่:มายา]]
[[หมวดหมู่:ความเป็นจริง]]
[[หมวดหมู่:การรับรู้]]
[[หมวดหมู่:ระบบรับความรู้สึก]]
[[หมวดหมู่:มายา]]
[[en:illusion]]