ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วงศ์ปลากดทะเล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 54:
 
กระจายพันธุ์ทั่วเขตร้อนของโลก พบใน[[ประเทศไทย]]ประมาณ 20 ชนิด เช่น [[Arius thalassinus|ปลาริวกิว]] หรือปลาลู่ทู (''Arius thalassinus'') และพบในน้ำจืดราว 10 ชนิด เช่น [[Ketengus typus|ปลากดหัวโต]] (''Ketengus typus''), [[ปลาอุก]] (''Cephalocassis borneensis''), [[ปลาอุกจุดดำ]] (''Arius maculatus''), [[ปลากดหัวกบ|ปลาอุกหัวกบ]] (''Batrachocephalus mino'') และ [[ปลากดหัวผาน]] (''Hemiarius verrucosus'') เป็นต้น
[[File:Crucifix catfish skull with and without man.jpg|thumb|left|[[พาเรียโดเลีย|จินตภาพ]]ของกะโหลกปลากดทะเล (ขวา) ที่มองเห็นเป็นรูปพระเยซูตึงกางเขน (ซ้าย)]]
 
โดยมากปลาในวงศ์นี้ จะถูกเรียกรวมกันว่า "อุก" เนื่องจากเมื่อถูกจับพ้นน้ำได้แล้วจะส่งเสียงร้องได้ โดยส่งเสียงว่า "อุก อุก"<ref>[[ชวลิต วิทยานนท์]] ดร., ''ปลาน้ำจืดไทย'' ([[กรุงเทพ]], [[พ.ศ. 2544]]) ISBN 974-475-655-5 </ref>
 
นอกจากนี้แล้ว ในมุมมองของชาวตะวันตก เมื่อมองกะโหลกของปลาในวงศ์นี้ซึ่งเป็นกระดูกแข็ง ก่อให้เกิดเป็น[[พาเรียโดเลีย|จินตภาพ]]เห็นภาาพมีคนหรือพระเยซูตรึงกางเขนอยู่ อันเป็นที่มาของชื่อสามัญในภาษาอังกฤษที่ว่า "Crucifix catfish"<ref>[http://www.scotcat.com/articles/article53.htm The Crucifix Catfish] by Allan James</ref>
==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}