ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปลาฉนาก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 24:
 
==ลักษณะและพฤติกรรม==
ปลาฉนากจัดเป็นปลาขนาดใหญ่ มีรูปร่างคล้าย[[ปลาฉลาม]] แต่จัดอยู่ใน[[ปลากระเบน|ประเภทเดียวกับปลากระเบน]] มี[[ซี่กรองเหงือก]] 5 ซี่ อยู่ใต้ส่วนหัว แต่มีส่วนหัวและหน้าอกแบนราบ ครีบหลังแบ่งออกเป็น 2 ตอน ครีบหลังอันแรกอยู่ค่อนไปทางหาง พื้นผิวลำตัวด้านหลังมี[[สีเทา]]อม[[เขียว]] ส่วนท้องมี[[สีขาว]] มีอวัยวะเด่นคล้ายกระบองแข็งยื่นยาวออกมา มีความยาวประมาณ 1 ใน 3 ของความยาวลำตัวและหาง และรอบส่วนแข็งนั้นมีซี่แหลมเล็ก ๆ อยู่โดยรอบคล้ายใบเลื่อย ใช้ในการป้องกันตัวและเชื่อว่าใช้นำทางและหาอาหาร โดยจะใช้ฟันเลื่อยนี้ตัดอาหาร เช่น [[ปลา]] ให้เป็นชิ้นเล็ก ๆ ซึ่งขนาดและจำนวนของซี่ฟันขึ้นอยู่ตามชนิด <ref>[http://guru.sanook.com/dictionary/dict_royals/?source_page{{อ้างหนังสือ
|ผู้แต่ง=2&source_location=1&spell=%A9%B9%D2%A1&x=17&y=16 ความหมายของคำว่า ฉนาก ตาม[[พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542]]]</ref>
|ชื่อหนังสือ=พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525
|URL=
|จังหวัด=กรุงเทพฯ
|พิมพ์ที่=อักษรเจริญทัศน์
|ปี=2539
|ISBN= 974-8122-79-4
|หน้า=244
|จำนวนหน้า = 972
}}
</ref>
 
เป็นปลาที่หากินตามพื้นท้องน้ำ โดยหาอาหารได้แก่ สัตว์หน้าดินและปลาขนาดเล็กต่างๆ มักอาศัยและหากินในบริเวณที่มีโคลนเลนขุ่น พบอาศัยในเขตอบอุ่นทั่วโลกตั้งแต่[[ทวีปอเมริกาเหนือ]], [[แอฟริกา]], [[เอเชีย]] และ[[ออสเตรเลีย]]ทางตอนเหนือ เป็นปลาทะเลที่บางสายพันธุ์ชนิด สามารถปรับตัวให้อาศัยอยู่ใน[[น้ำจืด]]ได้ด้วย
 
เป็นปลาที่ออกลูกเป็น[[ไข่]] แต่ไข่จะมีการเจริญเติบโตในช่องท้องของตัวเมีย เมื่อฟักแล้วจะทำให้ดูคล้ายออกลูกเป็นตัว<ref>[http://www.tistr.or.th/t/publication/page_area_show_bc.asp?i1=42&i2=7 ปลาฉนาก โดย [[จารุจินต์ นภีตะภัฏ]]]</ref>เป็นปลาที่อยู่ในสภาวะ[[ใกล้สูญพันธุ์เต็มที่]]