ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาควิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
แก้ไขความถูกต้อง
แก้ไขเนื้อหา ลบส่วนไม่เป็นสารานุกรม
บรรทัด 5:
| image = [[ภาพ : สิงห์เขียว.jpg|150px]]
| establish_date = [[พ.ศ. 2517]]
| headman = [[วัชรินทร์ ชาญศิลป์|รศ.ดร.วัชรินทร์ ชาญศิลป์]]
| color = {{color box|green}} [[สีg-up;]]
| color =
| symbol = สิงห์เขียว
| address = ภาควิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เลขที่ 50 ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900
| website = [http://www.polsci.soc.ku.ac.th/ www.polsci.soc.ku.ac.th]
}}
 
'''ภาควิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์''' เป็นภาควิชาที่สังกัดใน[[คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์|คณะสังคมศาสตร์ ]] [[มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์]]
'''ภาควิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์''' เป็นภาควิชาในสังกัด[[คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์|คณะสังคมศาสตร์]] [[มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์]] เปิดสอนในหลักสูตรปริญญาตรีและปริญญาโทตลอดจนการเรียนการสอนและการวิจัยด้านสาขาวิชา[[รัฐศาสตร์]]และ[[รัฐประศาสนศาสตร์]] ในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
 
== ประวัติ ==
ภาควิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ แต่เดิมเป็นกลุ่มวิชาหนึ่งที่เปิดสอนในภาควิชาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ [[คณะวิทยาศาสตร์และอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์]] เมื่อมีการก่อตั้งคณะสังคมศาสตร์ในปี [[พ.ศ. 2517]] จึงได้จัดตั้งเป็น '''ภาควิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์''' โดยเปิดสอนในระดับปริญญาตรีหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์ โดยแบ่งย่อยออกเป็นสามสาขา คือ สาขาวิชาการปกครอง สาขาวิชาบริหารรัฐกิจ และสาขาวิชาบริหารงานยุติธรรม ต่อมาจึงได้เพิ่มสาขาวิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในหลักสูตรปริญญาตรีและเปลี่ยนชื่อสาขาวิชาบริหารรัฐกิจเป็นสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ และในระดับปริญญาโทได้เปิดสอนหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์ วิชาเอกการปกครอง เป็นหลักสูตรแรก ต่อมาจึงได้เพิ่มสาขาวิชามากขึ้น
รัฐศาสตร์แห่ง[[มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์]]นั้น เดิมเป็นเพียงหมวดวิชาหนึ่งของสาขาสังคมศาสตร์ เมื่อปี [[พ.ศ. 2509]] เปิดทำการสอนภายใต้คณะวิทยาศาสตร์และอักษรศาสตร์ ต่อมาเมื่อวิชาสังคมศาสตร์ได้รับการก่อตั้งเป็นคณะสังคมศาสตร์ รัฐศาสตร์จึงได้รับการก่อตั้งเป็น "'''''ภาควิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์'''''" ขึ้น เมื่อปี [[พ.ศ. 2517]] ด้วยกระแสความเป็นประชาธิปไตยพุ่งสูงขึ้นมาก ในช่วงเวลา [[เหตุการณ์ 14 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2516]] ที่ต้องการให้มีหน่วยงานทางวิชาการในสาขาวิชารัฐศาสตร์ในมหาวิทยาลัยที่สำคัญ ได้แก่ การก่อตั้งการเรียนการสอนวิชารัฐศาสตร์ใน [[คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง|มหาวิทยาลัยรามคำแหง]] และ [[มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์]] ประกอบกับ[[นิพนธ์ คันธเสวี|ดร.นิพนธ์ คันธเสวี]] และคณาจารย์ในสมัยนั้น มีปณิธานที่จะผลิตบุคลากร ให้ออกไปทำงานการปกครองแบบประชาธิปไตย นั่นคือบริบท ของการก่อตั้งภาควิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ [[มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์]] โดยความพยายามของ รศ.ดร.โกวิท วงศ์สุรวัฒน์ ผู้ก่อตั้งและเขียนหลักสูตรขึ้น โดยใช้เวลาเขียนหลักสูตรเพียง 1 วัน
 
== สัญลักษณ์ ==
ภาควิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ใช้สัญลักษณ์ '''สิงห์เขียว''' เป็นตราสัญลักษณ์ของภาควิชา โดยเป็นรูปติณสิงห์หรือราชสีห์แดง ซึ่งเป็นหนึ่งในสี่ชนิดของ[[ราชสีห์]] แทนซึ่งความหมายของนักรัฐศาสตร์ ล้อมรอบด้วยลายรวงข้าวปรียบความหมายเฉกเช่นประชาชน อันเป็นการบ่งบอกถึงความสัมพันธ์อันใกล้ชิดระหว่างนิสิตและประชาชน ส่วนสีเขียวในตราสัญลักษณ์คือสีประจำมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ซึ่งเป็นที่มาของชื่อสิงห์เขียว
 
== การบริหารและหลักสูตร ==
== หลักสูตรการศึกษา ==
ปัจจุบัน '''การบริหารของภาควิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์'''จะแบ่งออกเป็น คณะสังคมศาสตร์4 [[มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์]] เปิดทำการเรียนการสอนในสาขาวิชา ดังต่อไปนี้ประกอบด้วย
* '''สาขาการปกครอง''' เกี่ยวกับการเมืองการปกครองทั้งลักษณะการปกครองและความสัมพันธ์ทางการปกครองของประเทศต่างๆ ในระดับชาติและระดับท้องถิ่น
{| class="wikitable" width=100%
* '''สาขาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ''' เกี่ยวกับนโยบายและการเมืองระหว่างประเทศ ทั้งในระดับประเทศและองค์การระหว่างประเทศ
* '''สาขาบริหารงานยุติธรรมและความปลอดภัย''' เกี่ยวกับการบริหารในระบบงานยุติธรรมและการบริหารเพื่อความปลอดภัยทั้งในหน่วยงานรัฐและเอกชน
* '''สาขารัฐประศาสนศาสตร์'''หรือ'''สาขาบริหารรัฐกิจ''' เกี่ยวกับการบริหารในภาครัฐในระบบราชการและรัฐวิสาหกิจ
 
โดยภาควิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ เปิดสอนในหลักสูตรระดับปริญญาตรีและปริญญาโท ดังนี้
{| class="wikitable" width = 100%
|-
! style="background: #32cd32Green; color: Black; "| <center>ปริญญาตรี</center>
! style="background: #32cd32Green; color: Black; "| <center>ปริญญาโท</center>
! style="background: #32cd32 "| <center>ปริญญาเอก</center>
|-
| valign = "top" |
'''หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (รัฐศาสตร์ศศ.บ.) '''
* สาขาวิชา[[การปกครอง]]รัฐศาสตร์ (ภาคปกติ/และภาคพิเศษ)
** แขนงวิชา[[การปกครอง]]
* สาขาวิชา[[รัฐประศาสนศาสตร์]] (ภาคปกติ/ภาคพิเศษ)
** แขนงวิชา[[ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ]]
* สาขาวิชา[[บริหารงานยุติธรรม]]และความปลอดภัย (ภาคปกติ/ภาคพิเศษ)
** แขนงวิชา[[บริหารงานยุติธรรม]]และความปลอดภัย
* สาขาวิชา[[ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ]] (ภาคปกติ/ภาคพิเศษ)
** แขนงวิชา[[รัฐประศาสนศาสตร์]]
* สาขาวิชา[[การบริหารจัดการท้องถิ่น]] (เปิดการเรียนการสอนในปีการศึกษา 2556)
<!--** แขนงวิชา[[การบริหารจัดการท้องถิ่น]]-->
| valign = "top" |
'''หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐศาสตร์ศศ.ม.) '''
* สาขาวิชา[[การปกครอง]]รัฐศาสตร์ (ภาคปกติ/และภาคพิเศษ)
** วิชาเอกการปกครอง
* สาขาวิชา[[รัฐประศาสนศาสตร์]] (ภาคปกติ/ภาคพิเศษ)
** วิชาเอกความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
* สาขาวิชา[[บริหารงานยุติธรรม]]และความปลอดภัย (ภาคปกติ/ภาคพิเศษ)
** วิชาเอกบริหารงานยุติธรรมและความปลอดภัย
| valign = "top" |
** วิชาเอกรัฐประศาสนศาสตร์
'''-'''
|-
|}
 
== ชีวิตนิสิต ==
== รายละเอียดแต่ละสาขาวิชา ==
นิสิตทุกสาขาวิชาของภาควิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ จะมีการเรียนตามหลักสูตรที่ได้เข้าศึกษา โดยในช่วงปีแรกของการศึกษาจะมีการเรียนในส่วนของวิชาพื้นฐานซึ่งอาจมีเรียนร่วมกับนิสิตสาขาอื่นๆในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และวิชาพื้นฐานทางรัฐศาสตร์ที่ภาควิชาทำการสอนเป็นวิชาบังคับ รวมถึงวิชาพื้นฐานทางรัฐศาสตร์ทั้ง 4 สาขา เพื่อให้มีองค์ความรู้รวมและความสัมพันธ์ของรัฐศาสตร์ เมื่อเรียนปีสูงขึ้นก็จะได้เรียนตามสาขาวิชารัฐศาสตร์ตามที่นิสิตได้เลือกไว้ และมีการทำกิจกรรมโดยทุกชั้นปีมีส่วนร่วมและเลือกทำกิจกรรมตามเสรี โดยอยู่ในการดำเนินการของชุมนุมรัฐศาสตร์ซึ่งเป็นผู้รับผิดชอบกิจกรรมในภาควิชา ตัวอย่างกิจกรรม เช่น กิจกรรมเปิดถ้ำสิงห์ กิจกรรมตามรอยประชาธิปไตย กิจกรรมรัฐศาสตร์วิชาการ ค่ายรัฐศาสตร์เพื่อเยาวชนและชุมชน ปลูกต้นคิด(ส์) เป็นต้น รวมถึงงานประเพณีสิงห์สัมพันธ์ที่มีกิจกรรมร่วมกับคณะรัฐศาสตร์ในประเทศไทยอีกด้วย
{| class="wikitable"
|-
! style="background: #32cd32 "| <center>สาขาวิชา</center>
! style="background: #32cd32 "| <center>รายละเอียด</center>
|-
| '''[[การปกครอง]]''' ||
ศึกษาในเรื่องเกี่ยวกับการเมืองการปกครองของประเทศต่างๆ ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน โดยแยกออกเป็นวิชาย่อยที่ให้ภาพหรือมิติต่างๆ ของการเมือง เช่น ทฤษฏีการเมือง การเมืองเปรียบเทียบ ระบบเอกรัฐและสหพันธรัฐ เป็นต้น สำหรับลักษณะการปกครองของประเทศต่างๆ สาขาปกครอง เปิดสอนวิชาที่เกี่ยวกับการปกครองของประเทศต่างๆ ที่สำคัญ เช่น ไทย สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น จีน เป็นต้น ซึ่งนอกจากจะเน้นที่สถาบัน และกระบวนการทางการเมืองระดับชาติแล้ว ยังพยายามเชื่อมโยงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างการปกครองท้องถิ่น และการเมืองระหว่างประเทศของประเทศนั้นๆอีกด้วย
|-
| '''[[รัฐประศาสนศาสตร์]]''' ||
ศึกษาโดยเน้นเรื่องการบริหารในภาครัฐทั้งหมด กล่าวคือทั้งระบบราชการและรัฐวิสาหกิจ วิชาการบริหารรัฐกิจมีหลายวิชา เช่น การบริหารงานบุคคล การบริหารองค์การ การบริหารงานคลัง และงบประมาณ การวางแผนและบริหารโครงการวางแผนกำลังคน พฤติกรรมของมนุษย์ในองค์การเทคโนโลยีทางการบริหาร นโยบายสาธารณะ และการบริหารรัฐวิสาหกิจ เป็นต้น
|-
| '''[[บริหารงานยุติธรรม]]และความปลอดภัย''' ||
ศึกษาเกี่ยวกับการบริหารในระบบงานยุติธรรม ได้แก่ องค์กรตำรวจ อัยการ ศาล ราชทัณฑ์ และคุมประพฤติ วิชาที่เรียนเน้นหนักไปในเรื่องหลักการบริหาร การบังคับใช้กฎหมายอาญาการแก้ปัญหาการกระทำผิดในสังคม ตลอดทั้งการบริหารเพื่อความปลอดภัยในองค์กรเอกชน
|-
| '''[[ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ]]''' ||
ศึกษาเกี่ยวกับด้านการเมืองระหว่างประเทศ นโยบายต่างประเทศของกลุ่มประเทศต่างๆ องค์การระหว่างประเทศ และประวัติศาสตร์การทูต เป็นต้น สาขานี้เหมาะสำหรับผู้ที่สนใจศึกษาปรากฏการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในโลกซึ่งผลกระทบต่อปฏิสัมพันธ์ของประเทศต่างๆ ในเวทีระหว่างประเทศ จะช่วยให้ผู้ศึกษามีความรู้เกี่ยวกับความเป็นไปและการเปลี่ยนแปลงของโลกที่เกิดขึ้นอยู่เสมอ ทำให้เป็นผู้ทันสมัยและมีวิสัยทัศน์
|-
| '''[[การบริหารจัดการท้องถิ่น]]''' ||
ศึกษาเกี่ยวกับหลักการปกครองท้องถิ่น นโยบายสาธารณะของท้องถิ่น การนำหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในท้องถิ่น การจัดสรรทรัพยากรของท้องถิ่นอย่างยั่งยืน และการส่งเสริมการมีส่วนร่วมทางการเมืองของผู้คนในชุมชนและท้องถิ่น
|-
|}
 
== ชีวิตและกิจกรรมนิสิต ==
==== กิจกรรมนิสิต ====
* เปิดถ้ำสิงห์
* เสวนาภาษาสิงห์ครั้งที่ ๑
* วันก้าวแรกสู่บัณฑิตยุคใหม่
* สู่อ้อมกอดนนทรี
* ตามรอยประชาธิปไตย
* รัฐศาสตร์วิชาการ
* ไหว้ครูรัฐศาสตร์
* พิธีประดับติ้ง
* รักษ์ซุ้ม
* การเลือกตั้งประธานชั้นปี 1
* การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนนิสิต องค์การนิสิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
* รัฐศาสตร์วิชาชีพ
* เฟรชชี่ลีค (กีฬาเฟรชชี่)
* ปลูกป่าอยู่อย่างสิงห์ ตามรอยพ่อหลวง
* งานประเพณีสิงห์สัมพันธ์
* งานวันลอยกระทงมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
* งานวันนนทรีทรงปลูก ดนตรีโปรด
* งานสัปดาห์รัฐศาสตร์วิชาการ
* การเลือกตั้งองค์การบริหาร องค์การนิสิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
* การเลือกตั้งประธานคณะกรรมการบริหารชุมนุมรัฐศาสตร์
* งานเกษตรแฟร์
* งานบายเนียร์พี่สิงห์เขียว
* งานคืนสู่เหย้าชาวสิงห์เขียวคืนถ้ำ
* วันคล้ายวันสถาปนามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
* ค่ายรัฐศาสตร์เพื่อเยาวชนและชุมชน ปลูกต้นคิด(ส์)
 
==== สังคมภายใน ====
สังคมภายในของชาวสิงห์เขียวแห่งรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มีรูปแบบของการอยู่ร่วมกันในระบบพี่น้อง มีวิถีของการให้ความอิสรเสรีตามวิถีความเป็นประชาธิปไตยอันสอดคล้องกับความเป็นรัฐศาสตร์ และยังผสมผสานด้วยวิถีของความเป็นเกษตรอย่างลงตัว ก่อให้เกิดรูปแบบของการอยู่ร่วมกันที่เรียบง่าย ไม่ฟุ้งเฟ้อ มีความเอื้อเฟื้อแบ่งปันซึ่งกันและกัน เน้นระบบมาก่อนเป็นพี่ มาหลังเป็นน้อง มาพร้อมเป็นเพื่อน นอกจากนี้ ในรูปแบบของการทำกิจกรรมต่างๆนั้น จะมีการทำร่วมกันอย่างร่วมมือร่วมใจระหว่างทุกชั้นปี โดยกิจกรรมต่างๆจะมีแม่งานเป็นปีต่างๆสลับกันไป แต่จะอยู่ในการดำเนินการของคณะกรรมการบริหารชุมนุมรัฐศาสตร์(ชั้นปีที่ 3) ซึ่งกิจกรรมของชาวสิงห์เขียวนั้นจะมีตลอดทั้งปีด้วยกัน จึงทำให้กิจกรรมทั้งหลายนี้เป็นส่วนหนึ่งของการประสานความสัมพันธ์ระหว่างนิสิตรัฐศาสตร์ให้มีความสามัคคี เข้มแข็ง รักใคร่กลมเกลียว และมีความภาคภูมิใจในความเป็นรัฐศาสตร์เกษตร เมื่อจบการศึกษาออกมาก็จะกลายเป็นสิงห์เขียวที่สง่างาม พร้อมที่จะทำงานรับใช้สังคมและประชาชนต่อไปอย่างเต็มภาคภูมิ
 
==== เพลงประจำรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ====
* เพลงรัฐศาสตร์เกษตร
* เพลงสิงห์เขียวบุก
* เพลงสิงห์เขียวสู้
* เพลงสิงห์เขียวลุย
* เพลงสิงห์เขียวเก่ง
 
{{คำพูด|สืบสายสิงห์คงนามสิงห์สู่ศรีศักดิ์ จงพิทักษ์รักเกียรติทุกสถาน นามสิงห์เขียวสิงห์เกษตรเกริกตระการ หยิ่งสมนามรัฐศาสตร์ศาสตร์ครองคน|}}
 
== คณาจารย์ ==
'''สาขาวิชาการปกครอง'''
*รองศาสตราจารย์ ดร.[[วัชรินทร์ ชาญศิลป์]] หัวหน้าภาควิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์
*รองศาสตราจารย์ ดร.[[วัลลภ รัฐฉัตรานนท์]]
*รองศาสตราจารย์ ดร.[[สมเกียรติ วันทะนะ]]
*ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.[[อรนันท์ กลันทปุระ]]
*อาจารย์[[ศาสตรินทร์ ตันสุน]]
'''สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์'''
*รองศาสตราจารย์ ดร.[[มนฤตย์พล อุรบุญนวลชาติ]]
*รองศาสตราจารย์[[นิตยา เงินประเสริฐศรี]]
*ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.[[ศรีรัฐ โกวงศ์]]
*อาจารย์ ดร.[[เกวลิน ศีลพิพัฒน์]]
*อาจารย์ ดร.[[ภิรดา ชัยรัตน์]]
'''สาขาวิชาบริหารงานยุติธรรมและความปลอดภัย'''
*ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.[[ลลิตา นิพิฐประศาสน์ สุนทรวิภาต]]
*อาจารย์[[วิเชียร ปรีชาธรรมวงศ์]]
*อาจารย์[[เปรมฤดี บุญตามช่วย]]
'''สาขาวิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ'''
*รองศาสตราจารย์[[จุฑาทิพ คล้ายทับทิม]]
*ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.[[ณัฐวีณ์ บุนนาค]]
*อาจารย์ ดร.[[กิ่งกนก ชวลิตธำรง]]
*อาจารย์[[ไพลิน กิตติเสรีชัย]]
*อาจารย์[[วริศรา อิ่มพิทักษ์]]
'''ผู้ทรงคุณวุฒิ'''
*ศาสตราจารย์[[นวลจันทร์ ทัศนชัยกุล]] สาขาวิชาบริหารงานยุติธรรมและความปลอดภัย
*รองศาสตราจารย์ ดร.[[โกวิท วงศ์สุรวัฒน์]] สาขาวิชาการปกครอง
*รองศาสตราจารย์[[เชี่ยวชาญ อาศุวัฒนกุล]] สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
*รองศาสตราจารย์[[สุพัตรา จุณณะปิยะ]] สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
*รองศาสตราจารย์[[จตุพร บานชื่น]] สาขาวิชาบริหารงานยุติธรรมและความปลอดภัย
 
== ศิษย์เก่าและนิสิตที่มีชื่อเสียง ==
 
== คณาจารย์และนิสิตเก่าที่มีชื่อเสียง ==
=== คณาจารย์ ===
* [[โกวิท วงศ์สุรวัฒน์]] รองศาสตราจารย์ประจำภาควิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และผู้เขียนบทความประจำสำนักพิมพ์[[มติชน]]
* [[สมเกียรติ วันทะนะ]] รองศาสตราจารย์ประจำภาควิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อดีตคณบดีคณะสังคมศาสตร์ และอดีตคณะกรรมการ[[องค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย]]
* [[มนฤตย์พล อุรบุญนวลชาติ]] รองศาสตราจารย์ประจำภาควิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และณบดีคณะสังคมศาสตร์
=== นิสิตเก่า ===
* [[เผดิมชัย สะสมทรัพย์]] อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน
* [[อนงค์วรรณ เทพสุทิน]] อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
* [[พัชรวาท วงษ์สุวรรณ|พลตำรวจเอกพัชรวาท วงษ์สุวรรณ]] อดีตผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ
* [[วัชรกิติ วัชโรทัย]] กรรมการอิสระ / ประธานกรรมการสรรหา / กรรมการกำกับดูแลกิจการที่ดี บริษัท ปตท.จำกัด(มหาชน) / กรมวังผู้ใหญ่ สำนักพระราชวัง
* [[วันชัย สอนศิริ]] สมาชิกวุฒิสภา / ทนายความ / ผู้ดำเนินรายการ