ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โลมาปากขวด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดแม่แบบเรียงลำดับ
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{Taxobox
| name =
| status = lc
| status_system = iucn3.1
| status_ref = <ref name="iucn">Database entry includes a lengthy justification of why this species is listed as data deficient {{IUCN2006|assessors=Cetacean Specialist Group|year=1996|id=22563|title=Tursiops truncatus|downloaded=08 May 2006}}</ref>
| image = US Navy 030811-N-6803B-001 Mark Six swimmer defense dolphins are deployed to the Arabian Gulf to provide operational force protection capabilities for Navy ships, piers and other high-value assets as part of the global war on t.jpg
| image2 = Bottlenose dolphin size.svg
| image_caption = ส่วนปากของ[[โลมาปากขวดธรรมดา]] (''T. truncatus'') ที่เรียวยาวเหมือนปากขวด อันเป็นที่มาของชื่อสามัญ
| image2_caption = เปรียบเทียบขนาดกับมนุษย์
| image = DolphinVeracruza.JPG
| image_caption = โลมาปากขวด
| regnum = [[Animal]]ia
| phylum = [[Chordate|Chordata]]
| classis = [[Mammal]]ia
| ordo = [[Cetacea]]
| image2 = Dolphins gesture language.jpg
 
| image2_caption =[[โลมาปากขวดอินโดแปซิฟิก]] (''T. aduncus'') จะเ้ห็นว่ามีความแตกต่างจากโลมาปากขวดธรรมดา ตรงที่มีข้างลำตัวและด้านท้องมีจุดสีเทาเข้มขึ้นประปราย
| familia = [[Delphinidae]]
| genus = ''[['''Tursiops]]'''''
| genus_authority = [[Paul Gervais|Gervais]], 1855
| species = '''''T. truncatus'''''
| binomialsubdivision = *''[[Tursiops truncatusaduncus]]'' <small>(Ehrenberg, 1833)</small>
*''[[Tursiops australis]]'' <small>Charlton-Robb, Gershwin, Thompson, Austin, Owen & McKeschnie, 2011</small><ref>{{aut|Charlton-Robb, K.}}; {{aut|Gershwin, L.-A.}}; {{aut|Thompson, R.}}; {{aut|Austin, J.}}; {{aut|Owen, K.}}; {{aut|McKeschnie, S.}} 2011. A New Dolphin Species, the Burrunan Dolphin ''Tursiops australis'' sp. nov., Endemic to Southern Australian Coastal Waters. ''PLoS ONE'' '''6''' (9): e24047. {{doi|10.1371/journal.pone.0024047}}</ref>
| binomial_authority = ([[George Montagu|Montagu]], 1821)
*''T. t.[[Tursiops truncatus]]'' <small>(Montagu, 1821) </small>
| range_map = Cetacea range map Bottlenose Dolphin.png
| subdivision_ranks = [[species|ชนิดย่อย]]<ref name="itis"/>
| range_map_width =
| range_map_caption= ถิ่นอาศัยโลมาปากขวด (แรเงาสีน้ำเงิน)
| synonyms = {{hidden begin|ชื่อพ้อง}}
*''Tursiops gephyreus'' <small>Lahille, 1908</small>
*''Delphinus truncatus'' <small>Montagu, 1821</small>
{{hidden end}}
|synonyms_ref = <ref name="itis">[http://www.itis.gov/servlet/SingleRpt/SingleRpt?search_topic=TSN&search_value=180426 จาก itis.gov]</ref>
| subdivision_ranks = [[ชนิดย่อย]]<ref name="itis"/>
| subdivision = {{hidden begin|=นิดย่อย}}
*''T. t. gillii'' <small>Dall, 1873</small>
*''T. t. ponticus'' <small>Barabash-Nikiforov, 1940</small>
*''T. t. truncatus'' <small>(Montagu, 1821)</small>
{{hidden end}}
}}
 
'''โลมาปากขวด''' หรือ '''โลมาหัวขวด''' ({{lang-en|Bottlenose dolphin}}) เป็นสกุลของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในทะเลสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า ''Tursiops'' (/ทูร์-ไซ-ออฟส์/) จัดอยู่ใน[[วงศ์โลมามหาสมุทร]] (Delphinidae)
'''โลมาปากขวด''' ({{lang-en|Bottlenose dolphin, Common bottlenose dolphin}}; {{ชื่อวิทยาศาสตร์|Tursiops truncatus}}) เป็น[[โลมา]][[species|ชนิด]]หนึ่ง ที่เป็นรู้จักกันเป็นอย่างดี
 
มีลำตัวสีน้ำเงินเข้มอมเทา สีจางหรือบางครั้งอมชมพูด้านท้อง จงอยปากค่อนข้างสั้นใหญ่ครีบหลังขนาดค่อนข้างใหญ่ เป็นรูปโค้งอยู่กึ่งกลางหลัง รูปร่างค่อนข้างอ้วน ไม่มีลายหรือจุดประแต่ประการใด ขนาดเมื่อโตเต็มที่ยาวประมาณ 2.3-3.1 เมตร <ref name="cite"/>
 
มีพฤติกรรมอาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูง ในบางฝูงอาจพบได้ถึงหลายร้อยตัวจนถึงหลักพัน และชอบว่ายน้ำแข่งกับเรือขณะที่เรือเดินอยู่ในทะเลได้หลาย[[ไมล์]]<ref>หน้า 39, ''สัตว์สวยป่างาม'' (ชมรมนิเวศวิทยา มหาวิทยาลัยมหิดล, สิงหาคม 2518)</ref> และมีความเร็วในการว่ายน้ำประมาณ 40.5 กิโลเมตร/ชั่วโมง<ref> หน้า 104, ''ความสามารถพิเศษของสัตว์''. "โลกเร้นลับของสิ่งมีชีวิต" แปลโดย ขวัญนุช คำเมือง (พิมพ์ครั้งที่ 5 กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊คส์ มกราคม 2543) ISBN 974-472-262-2</ref>
 
โลมาปากขวด เป็นโลมาที่ฉลาด มีความแสนรู้ ขี้เล่น เป็นมิตรกับมนุษย์ จึงนิยมเลี้ยงไว้แสดงตาม[[สวนสัตว์]]และ[[สถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำ]]ทั่วไป พบกระจายพันธุ์ตามทะเลเปิดและมหาสมุทรเขตร้อนและเขตอบอุ่นรวมถึงเขตหนาวทั่วโลก (แบ่งออกได้เป็น 3 ชนิดย่อย ดูรายชื่อในตาราง)<ref name="itis"/> สำหรับใน[[ประเทศไทย]] ไม่จัดเป็น[[สัตว์ป่าคุ้มครอง]] เนื่องจากโลมาปากขวดที่พบในประเทศไทย มิใช่โลมาปากขวดชนิดนี้ หากแต่เป็น[[Tursiops aduncus|โลมาปากขวดอินโดแปซิฟิก]] (''T. aduncus'') ที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน<ref>[http://www.verdantplanet.org/protect/protectedanimal.php สัตว์ป่าคุ้มครอง]</ref> <ref>[http://www.dmcr.go.th/marinecenter/mesonyx/mesonyx-Bottlenose.php โลมาปากขวด]</ref>
 
แต่เดิมถูกแบ่งไว้เพียงชนิดเดียว คือ [[โลมาปากขวดธรรมดา]] (''T. truncatus'') แต่ต่อมาในปี ค.ศ. 1998 ได้มีการแบ่งออกเป็นอีกชนิดหนึ่ง คือ [[โลมาปากขวดอินโดแปซิฟิก]] (''T. aduncus'')<ref> Wells, R. and Scott, M. (2002). "Bottlenose Dolphins". In Perrin, W.; Wursig, B. and Thewissen, J.. E''ncyclopedia of Marine Mammals''. Academic Press. p. 122–127. ISBN 0-12-551340-2.</ref>
ครั้งหนึ่ง [[กองทัพเรือสหรัฐ]]และอีกหลาย[[กองทัพเรือ]]ของชาติมหาอำนาจ เคยฝึกให้โลมาปากขวดปฏิบัติการในการสงคราม ด้วยการผูกติดระเบิดไว้กับตัว แล้วว่ายไปชนกับเรือข้าศึกแบบพลีชีพเหมือน[[คะมิกะเซะ|กามิกาเซ่]] แต่มีปัญหาอยู่ว่าจะสอนให้แยกแยะได้อย่างไรว่า เรือลำไหนคือเรือข้าศึก เรือลำไหนคือเรือที่เป็นมิตร โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อต้องมองเรือจากใต้น้ำที่เหมือนกันหมด<ref>''Out of The Blue'' สารคดีทางTrue Explore 1, ทรูวิชั่นส์: ศุกร์ที่ 11 มกราคม 2556</ref>
<ref>Möller Luciana M., Beheregaray Luciano B. 2001. Coastal bottlenose dolphins from southeastern Australia are ''Tursiops aduncus'' according to sequences of the mitochondrial DNA control region. Marine Mammal Science 17(2): 249-263.</ref> โดยมีความแตกต่างกันอยู่ที่ถิ่นที่อยู่อาศัย เนื่องจากโลมาปากขวดธรรมดาจะพบในมหาสมุทรแอตแลนติก ซึ่งเป็นพื้นที่ ๆ มีอากาศหนาวเย็น แต่โลมาปากขวดอินโดแปซิฟิก พบในพื้นที่ ๆ เป็นอากาศอบอุ่นและพื้นที่เขตร้อน เช่น ในประเทศไทย เป็นต้น และมีความแตกต่างกันที่สภาพกายภาพภายนอก กล่าวคือ โลมาปากขวดอินโดแปซิฟิก มีจุดสีเทาเข้มประปรายตามลำตัวด้านข้างและด้านท้อง และมีขนาดลำตัวเล็กกว่าโลมาปากขวดธรรมดา<ref name="cite">{{cite web|url=http://www.dmcr.go.th/marinecenter/mesonyx/mesonyx-Bottlenose.php|title=โลมาปากขวด|date=16 February 2014|accessdate=16 February 2014|publisher=dmcr}}</ref>
 
จนกระทั่งในปี ค.ศ. 2011 นักวิทยาศาสตร์ชาวออสเตรเลียได้ประกาศว่ามีโลมาปากขวดชนิดใหม่ คือ [[โลมาปากขวดบูร์รูนาน]] (''T. australis'') โดยพบประมาณ 150 ตัวว่ายน้ำอย่างเริงร่าบริเวณท่าเรืออ่าวฟิลลิป และทะเลสาบกิปป์สแลนด์ บริเวณชายฝั่งเมลเบิร์น ประเทศออสเตรเลีย ในตอนแรกคิดว่าเป็นโลมาปากขวดสองชนิดแรกที่รู้จัก แต่ทว่าเมื่อได้ทำการศึกษาลงไป พบว่ามีความแตกต่างกันทางสรีระและกะโหลกศีรษะ รวมถึุงความแตกต่างกันด้านดีเอ็นเอด้วย <ref>{{cite web|url=http://www.thairath.co.th/content/edu/202698|title=พบโลมาชนิดใหม่ว่ายวนใต้จมูกออสเตรเลีย|date=19 September 2011|accessdate=16 February 2014|publisher=ไทยรัฐ}}</ref>
==ดูเพิ่ม==
*[[Tursiops aduncus|โลมาปากขวดอินโดแปซิฟิก]]
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{commonscat|Tursiops truncatus|''Tursiops''}}
==แหล่งข้อมูลอื่น==
{{wikispecies-inline|Tursiops truncatus}}
 
 
[[หมวดหมู่:โลมามหาสมุทร]]